โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการนำเข้าและการส่งออกของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด โดยใช้แบบฝึกด้วยเทคนิคการเขียนแผนผังความคิด.
Advertisements

ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ ผู้วิจัย ถาวร ประรงค์ทอง.
ชื่อผู้วิจัย สิตานันท์ ธีรศาสตร์ศิลป์
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชางานฝึกฝีมือ เรื่องงานร่างแบบด้วยมือโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของ นักเรียนระดับชั้น ปวช.1 แผนกช่างอุตสาหกรรม ปีการศึกษา.
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
นางสาวทศพร ปินตาสม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่


ผู้วิจัย การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ VDO ช่วยสอน
นางบัววิไล แก้วอู๋ ผู้วิจัย
นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
การพัฒนาทักษะการคำนวณเรื่องระบบเลขฐาน โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา.
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
นางสาวณัฐกานต์ ภิรมณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
นางปัจณี บุญส่งสวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ
วิจัยเรื่องการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดย ใช้ชุดฝึกปฏิบัติในวิชาบัญชีเบื้องต้น 1 เรื่อง การวิเคราะห์รายการค้าของนักเรียน ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง
การใช้แบบฝึกทักษะเกม Spelling Bee เพื่อพัฒนาความสามารถในการสะกด คำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 (ปวช.1) สาขา เทคนิคคอมพิวเตอร์

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
อาจารย์ประจำสาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นายหิรัญญพงษ์ โอวัฒนา โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
กิจกรรมการเรียนการสอน ที่หลากหลาย เพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน วิชา กฎหมายแรงงานและ การประกันสังคม ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง จังหวัดระยอง ชื่อผู้วิจัย / สถาบัน นายวัชรพล พรมโคตร.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ เพื่อการออกแบบของ นักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 สาขางาน คอมพิวเตอร์กราฟิค วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559
การนำเสนอผลงานการวิจัย
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงเสียงท้าย - ts , st
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
การนำเสนอผลงานวิจัยและนวัตกรรมสื่อการสอนทางอาชีวศึกษา ครั้งที่ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
ผู้วิจัย นายณัฐภูมิ จาระธรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การวิเคราะห์รายการค้า โดยใช้แบบฝึกทักษะ วิชาบัญชีเบื้องต้น 1 ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ห้อง 2 โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง

ความเป็นมาของปัญหา จากการจัดการเรียนการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 1 ที่ผ่านมาพบว่านักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 ห้อง 2 (ปวช.3/2) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาบัญชีต่ำ นักศึกษาจำนวนหนึ่ง ไม่สามารถจำแนกได้ว่าอะไรเป็นสินทรัพย์ หนี้สิน และ ส่วนของเจ้าของได้ รวมทั้งนักศึกษาไม่สามารถวิเคราะห์รายการค้าได้ จึงทำให้นักศึกษาไม่สามารถบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไปได้ สาเหตุเกิดจากนักศึกษาขาดความสนใจเรียน ไม่ทำแบบฝึกหัดเพื่อฝึกฝนตนเอง แบบฝึกทักษะมีน้อย จึงทำให้นักศึกษาขาดทักษะในการวิเคราะห์รายการค้าและการบันทึกบัญชีซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญในการเรียนวิชาบัญชีต่อไป

วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการวิเคราะห์รายการค้า วิชาบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ห้อง 2 (ปวช.3/2) วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี โดยใช้แบบฝึกทักษะ 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการเรียน เรื่องการวิเคราะห์รายการค้าโดยใช้แบบฝึกทักษะ

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 (ปวช.3) จำนวน 2 ห้องเรียน ซึ่งประกอบด้วย ปวช.3/1 และ ปวช.3/2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 จำนวนนักศึกษาทั้งหมด 43 คน กลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ห้อง 2 (ปวช.3/2) จำนวน 19 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบวิธีเจาะจง

ตัวอย่างชุดแบบฝึกทักษะ แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 เรื่อง การจำแนกรายการค้าและรายการที่ไม่ใช่รายการค้า ลำดับ รายการ รายการค้า ไม่ใช่รายการค้า 1 นายแดงนำเงินสดมาลงทุนเพิ่มในกิจการ 50,000 บาท   2 ชำระค่าขนส่งสินค้าเข้าร้าน 3 พนักงานกล่าวต้อนรับลูกค้าที่มาใช้บริการที่ร้าน 4 ร้านฟ้ายังไม่ได้ชำระค่าโทรศัพท์ 5 พนักงานส่งสินค้าให้ถึงบ้านลูกค้า 6 กิจการซื้ออุปกรณ์สำนักงานเป็นเงินเชื่อ 7 ลูกค้าชำระค่าสินค้าที่ซื้อ 1,000 บาท 8 กิจการสั่งซื้อกระเป๋าทางอินเตอร์เน็ต 9 นางสาวชมพูนำรองเท้าใส่ถุงให้ลูกค้า 10 เจ้าของกิจการเบิกเงินสดจากกิจการไปใช้ส่วนตัว

แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 2 เรื่องการวิเคราะห์รายการค้า แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 2 เรื่องการวิเคราะห์รายการค้า ลำดับ รายการค้า สินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ เพิ่ม ลด 1 นายกร นำเงินสดมาลงทุนจำนวน 20,000 บาท   2 ซื้ออุปกรณ์ซ่อมรถเป็นเงินเชื่อจากร้านกล้า 3,000 บาท 3 รับรายได้ค่าซ่อมรถเป็นเงินสด 1,500 บาท 4 ชำระค่าน้ำ ค่าไฟ ด้วยเงินสด 500 บาท 5 ออกบิลเก็บค่าซ่อมรถนางสาวเก๋ 1,000 บาท 6 นางสาวเก๋นำเงินสดมาชำระค่าซ่อมรถ 7 จ่ายเงินเดือนพนักงาน 3,000 บาท 8 ชำระหนี้ร้านกล้าเป็นเงินสด 9 นายกร ถอนเงินสดไปใช้ส่วนตัว 2,000 บาท 10 ซื้อน้ำมันล้างเครื่องมือเป็นเงินสด 200 บาท

แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 3 เรื่องการบันทึกบัญชี แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 3 เรื่องการบันทึกบัญชี ลำ ดับ รายการค้า สินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ การบันทึกบัญชี เพิ่ม ลด เดบิต เครดิต 1 น.ส.บุษบานำเงินสด 120,000 บาท และจักรเย็บผ้า 80,000 บาท มาลงทุน   2 ซื้อวัสดุที่ใช้ในการเย็บผ้า 6,000 บาท เป็นเงินเชื่อ 3 รับเงินรายได้ค่าตัดเย็บ 7,000 บาทเป็นเช็ค 4 ซื้อเครื่องตกแต่งร้านด้วยเงินสด 15,000 บาท 5 ตัดสูทให้นายดนุพล และส่งบิลไปเก็บเงิน 9,000 บาท 6 จ่ายค่าแรงลูกจ้างในร้าน 3 คน คนละ 5,000 บาท 7 จ่ายชำระหนี้ค่าวัสดุที่ใช้ในการเย็บผ้าเป็นเงินสด 8 รับชำระหนี้จากนายดนุพล เป็นเงินสด 9 จ่ายค่าน้ำ ค่าไฟ 3,000 บาท 10 น.ส.บุษบา ถอนเงินสดไปใช้ส่วนตัว 2,000 บาท

ผลการวิจัย ตารางที่ 1 แสดงการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการวิเคราะห์รายการค้า ของนักศึกษาก่อนและหลังเรียน โดยใช้แบบฝึกทักษะ

ตารางที่ 2 แสดงผลการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการเรียน เรื่องการวิเคราะห์รายการค้าโดยใช้แบบฝึกทักษะ รายการประเมิน   (S.D.) ระดับความ พึงพอใจ 1. แบบฝึกทักษะเข้าใจง่าย 3.84 0.76 มาก 2. แบบฝึกทักษะฝึกกิจกรรมได้สะดวกและง่าย 3.95 0.71 3. แบบฝึกทักษะเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจได้ดี 4.11 0.81 4. แบบฝึกทักษะช่วยในการวิเคราะห์รายการค้าได้แม่นยำ ถูกต้องมากขึ้น 0.88 5. แบบฝึกทักษะใช้ในการทบทวนความรู้และฝึกทักษะได้ดี 4.21 0.85 6. แบบฝึกทักษะทำให้นักศึกษาทราบความก้าวหน้าและข้อบกพร่องของตนเอง 4.32 0.82 7. แบบฝึกทักษะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้และการฝึกกิจกรรม 4.26 8. นักศึกษาสนุกสนานกับการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะ 0.79 9. นักศึกษาชอบการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะ 10. นักศึกษาชอบเรียนวิชาบัญชีเบื้องต้น 3.53 1.07 รวม 4.07 0.83

สรุปผลการวิจัย ผลการวิจัยที่ค้นพบในครั้งนี้ เป็นไปตามสมมติฐานที่กำหนด ไม่ว่าจะเป็นเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการวิเคราะห์รายการค้าโดยใช้แบบฝึกทักษะ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังใช้แบบฝึกทักษะสูงกว่าก่อนใช้แบบฝึกทักษะ รวมถึงความพึงพอใจต่อการเรียน เรื่องการวิเคราะห์รายการค้าโดยใช้แบบฝึกทักษะอยู่ในระดับ มาก

ข้อเสนอแนะสำหรับการนำผลการวิจัยไปใช้ 1. ครูผู้สอนควรสร้างแบบฝึกทักษะเรื่องการวิเคราะห์รายการค้า ที่มีประสิทธิภาพไปใช้ในการเรียนการสอน นอกเหนือจากการสอนตามปกติ เพื่อให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น 2. ครูผู้สอนควรฝึกให้นักศึกษาได้ฝึกกระบวนการคิดวิเคราะห์ รู้จักการแสดงความคิดเห็น อภิปราย ตลอดจนการมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม 3. ครูผู้สอนต้องอธิบายให้นักศึกษาเกิดความเข้าใจในกระบวนการเรียนการสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะ ก่อนทำการใช้แบบฝึกทักษะ เพื่อให้นักศึกษาเกิดความเข้าใจและปฏิบัติตาม

ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะสำหรับการทำวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรมีการวิจัยถึงรูปแบบกระบวนการเรียนการสอนด้วยวิธีต่างๆ ที่เหมาะสมในการพัฒนาทักษะและเจตคติต่อวิชาบัญชี เพื่อหาวิธีการสอนที่เหมาะสมกับเนื้อหาของบทเรียนที่สุด และเน้นประโยชน์ของผู้เรียนเป็นสำคัญ 2. ควรมีการพัฒนาแบบฝึกทักษะให้อยู่ในรูปแบบอื่นนอกเหนือจากในกระดาษ เช่น รูปแบบสื่อออนไลน์ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความสะดวกในการทำแบบฝึกทักษะเพื่อฝึกฝนตนเอง 3. แบบฝึกทักษะควรมีระดับการฝึก เช่น ระดับง่ายสำหรับกลุ่มอ่อน และระดับยากสำหรับกลุ่มเก่ง เพื่อให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนตามระดับความสามารถของตน