จุดเน้นและแนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปี 2560 นายแพทย์สุเทพ เพชรมาก รองอธิบดีกรมควบคุมโรค การประชุมเชิงปฏิบัติการเพิ่มประสิทธิภาพการบิหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์การป้องกันควบคุมโรค.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
สกลนครโมเดล.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
“ถ้าหากบริษัทบุหรี่ต้องหยุดทำการตลาดที่พุ่งเป้าไปที่เด็กๆ บริษัทบุหรี่จะล้มละลายภายใน 25 – 30 ปี เพราะจะไม่มีลูกค้าเพียงพอที่ธุรกิจจะอยู่ได้”
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
งานสำคัญด้านโรคจากการประกอบอาชีพ และสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2560
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จุดเน้นและแนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปี 2560 นายแพทย์สุเทพ เพชรมาก รองอธิบดีกรมควบคุมโรค การประชุมเชิงปฏิบัติการเพิ่มประสิทธิภาพการบิหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์การป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 วันที่ 19 -20 ตุลาคม 2559 ณ โรงแรมปรินซ์ พาเลช มหานาค กรุงเทพมหานคร

แผนงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ Cluster SALT แผนงานควบคุมโรคเรื้อน Cluster Env-Occ แผนงานควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพ 1.1 แผนงานควบคุมโรคจาก การประกอบอาชีพกลุ่มแรงงานนอกระบบ/ภาคเกษตรกรรม 1.2 แผนงานควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพภาคอุตสาหกรรม(กลุ่มวัยทํางาน) แผนงานยุทธศาสตร์บริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม Cluster NATI แผนงานควบคุมการบริโภคยาสูบ

แผนงานควบคุมโรคเรื้อน ปี 2560 1. สถานการณ์และสภาพปัญหา สถานการณ์ สภาพปัญหา (Gap Analysis) 1. ปี 2558 พบผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ 187 ราย เท่ากับ DR 0.28 ต่อ 100,000 ประชากร 2. ปี 2558 จำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ที่มี ความพิการระดับ 2 จำนวน 27 รายเท่ากับ 14.44% 3. ปี 2554-2558 พบผู้ป่วยโรคเรื้อนจากประชากรต่างด้าว จำนวน 28 22 22 47 และ 44 ราย 4. ผลการวิจัย พบว่า ชุมชนที่มีผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อนอาศัยอยู่ มีการตีตราต่อโรคเรื้อนสูงเกินร้อยละ 80 1. อัตราความชุกโรคเรื้อนลดลง แต่ผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ได้รับการตรวจวินิจฉัยและรักษาล่าช้า 2. ผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ในประชากรต่างด้าวมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น (ปี 2558 สคร.1 เชียงใหม่ และ สคร.5 ราชบุรี พบผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ที่เป็นต่างด้าวมากกว่าผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ที่เป็นคนไทย) 3. ผู้ป่วยยังถูกตีตราจากชุมชนที่อาศัยอยู่และผู้ที่หายจากโรคเรื้อนแต่ยังมีความพิการระดับ 2 ประมาณ 6,000 คน มีความจำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสภาพ

2. เป้าหมาย/ตัวชี้วัด 3. มาตรการ 1. จำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ไม่น้อยกว่าหรือเท่ากับ 160 ราย 2. ร้อยละ 50 ของจังหวัดเป้าหมายสามารถลดการตีตราของชุมชนที่มีต่อโรคเรื้อน (3/5 จังหวัด) [ปี 59 หาค่า base line จะมีการวัดในปี 63] 3. มาตรการ 1. การเร่งรัดค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนในพื้นที่ที่มีข้อบ่งชี้ทาง ระบาดวิทยาและในผู้สัมผัสโรค 2. การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อน

เป้าหมายการดำเนินงาน 4. เป้าหมายผลการดำเนินงาน (Small success) มาตรการ เป้าหมายการดำเนินงาน 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน มาตรการที่ 1 1.1 อำเภอเป้าหมายที่มีข้อบ่งชี้ทางระบาดวิทยา ดำเนินกิจกรรมค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ 20% 40% 60% 80% 1.2 : อัตราความพิการระดับ 2 ในผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ ต่อล้านประชากร *วัดผล ในรอบ 12 เดือน - 0.36 1.3 : ผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่มีค่าเฉลี่ยระยะเวลาตั้งแต่เริ่มมีอาการของโรคเรื้อนจนได้รับการวินิจฉัยและรักษาโรคเรื้อนตามมาตรฐาน (since of onset : SOS) ไม่เกิน 12 เดือน 50% มาตรการที่ 2 2.1 ร้อยละของจังหวัดเป้าหมายที่ได้ดำเนินการสำรวจสภาพความพิการ ปัญหาสังคมเศรษฐกิจของผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อน 5% 10% 2.2 จำนวนเครือข่ายเพื่อการฟื้นฟูสภาพผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อนที่สามารถนำความรู้ทักษะที่ได้ ไปใช้ในการพัฒนาเครือข่าย 1 เครือข่าย 2 3 11 2.3 จำนวนแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อนที่จัดทำร่วมกับเครือข่ายในพื้นที่ภายหลังการบูรณการนิคมให้เป็นชุมชนทั่วไป แผน 9

5. ประโยชน์ที่จะเกิดกับประชาชน (Outcome/Impact) 1. กิจกรรมค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนในพื้นที่ที่มีข้อบ่งชี้ทางระบาดวิทยา ทำให้พบผู้ป่วยโรคเรื้อนราย ใหม่ได้เร็ว สามารถลดอัตราความพิการระดับ 2 ของผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ 2. ผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อนที่พิการ และมีปัญหาทางสังคมเศรษฐกิจ ได้รับการคัดเลือกให้ เข้ารับการฟื้นฟูสภาพ 3. องค์กรเครือข่ายสวัสดิการสังคมมีแนวทางการประสานความร่วมมือ และองค์ความรู้ในการ พัฒนาคุณภาพชีวิต ผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อน 4. มีแผนปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ประสบปัญหาจาก โรคเรื้อนในนิคมภายหลังบูรณาการเพื่อลดการตีตรา ส่งผลให้ผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สามารถพึ่งพาตนเองได้ 6. วิธีการติดตาม และประเมินผล 1. รวบรวมข้อมูลจากระบบรายงาน - รายงานผลการดำเนินงานโรคเรื้อน รอบ 6 เดือน - รายงานผู้ป่วยโรคเรื้อนที่พบใหม่ 2. นิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผลการ และจัดทำสรุปรายงาน

จุดเน้นการดำเนินงาน Cluster Env - Occ ปี 2560 แผนงานควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพ 1.1 แผนงานควบคุมโรคจากการประกอบกาชีพกลุ่มแรงงานนอกระบบ/ ภาคเกษตรกรรม * สร้างการจัดบริการอาชีวอนามัยให้แรงงานในชุมชน * ขับเคลื่อนนโยบาย “ลดการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช” 1.2 แผนงานควบคุมโรคจากการประกอบกาชีพภาคอุตสาหกรรม (กลุ่มวัยทำงาน) * สนับสนุนสถานประกอบการให้มีการดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพ * สนับสนุนให้มีการจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจรแก่สถานประกอบการ แผนงานยุทธศาสตร์บริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม * เฝ้าระวัง และคัดกรองทางสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม * บูรณาการดำเนินงานป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม

1.1 แผนงานควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพ กลุ่มแรงงานนอกระบบ/ภาคเกษตรกรรม เป้าหมาย : อัตราป่วยด้วยโรคจากการประกอบอาชีพที่สำคัญในกลุ่มแรงงานนอกระบบ ลดลงจากปีที่ผ่านมาอย่างน้อย 1 ต่อแสนประชากร มาตรการ 1. สร้างการจัดบริการอาชีวอนามัยให้แรงงานในชุมชน 2. สร้างและพัฒนาความร่วมมือของเครือข่ายเพื่อการลดปัจจัยเสี่ยงในการทำงานของแรงงานในชุมชนและแรงงานนอกระบบ

แผนงานควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพกลุ่มแรงงานนอกระบบ/ ภาคเกษตรกรรม ปี 2560 อัตราป่วยด้วยโรคจากการประกอบอาชีพที่สำคัญในกลุ่มแรงงานนอกระบบ ลดลงจากปีที่ผ่านมา มาตรการ 1 สร้างการจัดบริการอาชีวอนามัยให้แรงงานในชุมชน มาตรการ 2 สร้างและพัฒนาความร่วมมือของเครือข่ายเพื่อการลดปัจจัยเสี่ยงในการทำงาน ตัวชี้วัด 1.1 ร้อยละหน่วยบริการปฐมภูมิ ที่มีการจัดบริการอาชีว-อนามัย ให้แรงงานในชุมชน เพิ่มขึ้นปีละ อย่างน้อย (ร้อยละ 60 ) ตัวชี้วัด 1.2 ร้อยละของการยกระดับ การจัดบริการอาชีวอนามัยให้แรงงาน ในชุมชน (ร้อยละ 10) ตัวชี้วัด 2.1 จำนวนพื้นที่ต้นแบบด้าน อาชีวอนามัยที่มีการพัฒนาร่วมกับเครือข่ายในพื้นที่ อย่างน้อยจังหวัดละ 1 แห่ง กิจกรรมสำนักฯ 1. ขับเคลื่อนนโยบายส่งเสริมป้องกันโรคฯ 2. พัฒนา + สนับสนุนองค์ความรู้หลักสูตร และเทคนิคทาง lab 3. พัฒนาระบบ + เชื่อมโยงข้อมูลการคัดกรองและเฝ้าระวังสุขภาพ กิจกรรม สคร. 1.สนับสนุน + พัฒนาศักยภาพและ ความเข้มแข็งเครือข่ายระดับพื้นที่ 2. สนับสนุนวิชาการ + พัฒนาศักยภาพเครือข่ายพื้นที่ 3. พัฒนาระบบข้อมูลการเฝ้าระวังฯ ระดับเขต 4.สนับสนุน ติดตาม จังหวัด 5. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประเมินผล จังหวัด 1. เฝ้าระวังป้องกันตามแนวทางฯ 2. สนับสนุนและร่วมติดตามผล กิจกรรมสำนักฯ 1. ขับเคลื่อนนโยบาย “ลดการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช” กิจกรรม สคร. 1. พัฒนาศักยภาพ เสริมสร้างความเข้มแข็ง เครือข่ายพื้นที่ต้นแบบ จังหวัด 1.รับการอบรมพัฒนาฯ ร่วมกับเครือข่าย 2. สร้าง + สนับสนุนเครือข่ายในพื้นที่ต้นแบบ 9

Road Map กลุ่มเป้าหมายแรงงานนอกระบบ กลุ่มเกษตรกร 4.5 ล้านราย กลุ่มแกะสลักหิน 2,851 ราย กลุ่มเก็บ คัดแยก ขยะทั่วไป 245,000 ราย กลุ่มคัดแยกขยะ อิเล็กทรอนิกส์ 1,252 ราย กลุ่มแท็กซี่ 120,000 ราย กลุ่มตัดเย็บผ้า 268,014 ราย กลุ่มเป้าหมายสำคัญ ความเสี่ยง เชื้อโรค ของมีคม บาดทิ่มแทง โลหะหนัก เช่น ปรอท แคดเมียม ตะกั่ว ฝุ่นฝ้าย /ภูมิแพ้ สัมผัสฝุ่นหิน TB/Flu/คุณภาพอากาศในรถ สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ประเทศไทยมีประชากรกลุ่มวัยทำงาน 38.3 ล้านคน แรงงานนอกระบบ 21.4 ล้านคน (55.9%) Road Map แรงงานนอกระบบ เกษตร,แท็กซี่, สลักหิน, ผลิตผ้า,เก็บ+ขยะ * 4.1 แสนรายได้รับบริการ แรงงานฯ 4 กลุ่ม * 6.2 แสนรายได้รับบริการ เกษตร,อุตฯ ครัวเรือน, เก็บ+แยกขยะทั่วประเทศ,ภาคบริการ * 10.5 ล้านรายได้รับบริการ ทุกกลุ่ม ทุกพื้นที่ เข้าถึงบริการ ที่มี คุณภาพ เร่งด่วน 2559 ระยะสั้น 2560 ระยะกลาง 61-63 ระยะยาว 64 

ประโยชน์ที่จะเกิดกับประชาชน (Outcome/Impact) มีเครือข่ายการสร้างพื้นที่ต้นแบบด้านอาชีวอนามัยที่มีการพัฒนาร่วมกับเครือข่ายในพื้นที่ มีแนวทาง/องค์ความรู้การดำเนินงานและสร้างความร่วมมือเครือข่ายการดูแลสุขภาพ และป้องกัน ควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อโรคจากการประกอบอาชีพในกลุ่มแรงงานนอกระบบที่เหมาะสมกับพื้นที่ มีแนวทางการดำเนินงานการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคที่เกิดจากการทำงานและพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม ได้ข้อมูลสถานการณ์การดำเนินงานระดับพื้นที่เพื่อการแก้ไขปัญหาที่เหมาะสม และสามารถนำไปวางแผนการดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ วิธีการติดตาม และประเมินผล เก็บข้อมูลจากแบบสอบถามการให้บริการอาชีวอนามัยได้ตามมาตรฐาน (เกณฑ์ 11 ข้อ) เก็บข้อมูลจากเกณฑ์การจัดบริการอาชีวอนามัยให้กับแรงงานในชุมชน เก็บข้อมูลจากแบบสอบถามเกี่ยวกับการดำเนินงานร่วมกับเครือข่ายต่าง ๆ ในพื้นที่

1.2 แผนงานควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพภาคอุตสาหกรรม “บูรณาการกลุ่มวัยทำงาน” เป้าหมาย : อัตราการประสบอันตรายจากการทำงาน (โรคและอุบัติเหตุจากการทำงาน) /ลูกจ้าง 1,000 รายลดลงจากปีที่ผ่านมา ร้อยละ 10 (8.00) มาตรการ สนับสนุนสถานประกอบการให้มีการดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด สนับสนุนให้สถานประกอบการมีการจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจร

แผนงานควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพภาคอุตสาหกรรม “กลุ่มวัยทำงาน” มาตรการ 1 สนับสนุน สปก. ให้มีการดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด อัตราการประสบอันตรายจากการทำงาน (โรคและอุบัติเหตุจากการทำงาน) /ลูกจ้าง 1,000 ราย ลดลงจากปีที่ผ่านมา ร้อยละ 10 (8.00) มาตรการ 2 สนับสนุนให้มีการจัดบริการ อาชีวอนามัยครบวงจร แก่ สปก. โครงการพัฒนาองค์ความรู้เสริมสร้างศักยภาพและความร่วมมือเครือข่ายด้านโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพในโครงการสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจ เป็นสุข ตัวชี้วัด 2.1 สปก.ที่ พนง.มีโอกาสรับสัมผัสปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคฯสำคัญ 7 กลุ่มโรค มีการจัดบริการ อช.ครบวงจร อย่างน้อย จว.ละ 2 แห่ง (ยอดสะสม)(อย่างน้อย 152 แห่ง) ตัวชี้วัด 1.1 จำนวน สปก. เข้าร่วมโครงการ สปก.ฯ เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา (ยอดสะสม) (อย่างน้อย 380 แห่ง) ตัวชี้วัด 1.2 ร้อยละ 10 ของ สปก. ที่เข้าร่วมโครงการฯ ดำเนินงานผ่านเกณฑ์สปก.(ยอดสะสม) (อย่างน้อย ร้อยละ 10) กิจกรรมสำนักฯ 1.พัฒนาเกณฑ์/แนวทาง 2.พัฒนาเครือข่ายใน พท. (อสธจ. คป.) 3.ขับเคลื่อนกลไก คกก. ระดับเขต 4.สร้างทีมตรวจประเมิน เขต./จังหวัด 5.คัดเลือก ประเมิน สปก. ตามเกณฑ์ภาพประเทศ 6.จัดทำสถานการณ์ ภาพประเทศ กิจกรรม สคร. 1.พัฒนาแครือข่าย พท. 2.สนับสนุนวิชาการแก่ เครือข่าย/ สปก. 3.ตรวจประเมิน สปก. ร่วมกับจังหวัด 4.แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตามเกณฑ์ 5.จัดทำรายงาน ภาพจังหวัด กิจกรรมจังหวัด 1.สนับสนุนวิชาการ แก่เครือข่าย/สปก. 2.ตรวจประเมินร่วม เครือข่าย 3.ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตามเกณฑ์ 4.จัดทำรายงานภาพจังหวัด กิจกรรมสำนักฯ 1.สร้างความร่วมมือ/ ศักยภาพ จัดบริการ อช. ครบวงจร 2.สนับสนุนเกณฑ์ฯ แก่ สปก. 3.สร้างกลไกการจัด บริการ อช. (ประเมิน,เฝ้าระวัง, สื่อสารฯ,ส่งต่อ รักษา ฟื้นฟู) กิจกรรม สคร. 1.ตั้ง คกก. ระดับเขต 2.สนับสนุนจังหวัด จัดตั้ง คกก. 3.ร่วมสร้างกลไกการจัดบริการฯ 4.ประสานการจัดบริการ รพศ./รพท. กิจกรรมจังหวัด 1.จัดตั้ง คกก.ระดับ จังหวัด 2.ให้ความรู้ ปรับเปลี่ยน พฤติกรรม 3.ประสาน/ร่วม ดำเนินการใน สปก.

แผนงานควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพภาคอุตสาหกรรม “กลุ่มวัยทำงาน” ปี 2560 แผนงานควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพภาคอุตสาหกรรม “กลุ่มวัยทำงาน” ปี 2560 GAP “สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข” ด้านอาชีวอนามัย : สปก. + ผู้ทำงาน ขาดความรู้ + แนวทางการทำงาน/จัดการที่เหมาะสม พฤติกรรมสุขภาพผู้ทำงาน ไม่ถูกต้อง : ดื่มสุรา สูบบุหรี่ อาหาร ออกกำลัง ขับขี่ปลอดภัย ฯลฯ ขาดการดูแล/จัดการสุขภาพ แบบองค์รวม/บูรณาการ - พบเสี่ยงไม่ปลอดภัย/ป่วย ไม่มีการ ส่งต่อ/เชื่อมโยงสู่หน่วยบริการ สธ. + สปก. - การจัดการปัญหา NCD , CD , สุขภาพจิต ฯลฯ มาตรการ ตัวชี้วัด สนับสนุน สปก. ให้มีการดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด ตัวชี้วัด 1.1 จำนวน สปก. เข้าร่วมโครงการ สปก.ฯ เพิ่มขึ้นจากปี ที่ผ่านมา (อย่างน้อย 380 แห่ง) ตัวชี้วัด 1.2 ร้อยละของ สปก. ที่เข้าร่วมโครงการฯ ดำเนินงานผ่านเกณฑ์ สปก. (ร้อยละ 30) สนับสนุนให้มีการจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจรแก่ สปก. ตัวชี้วัด 2.1 สปก.ที่ พนง.มีโอกาสรับสัมผัสปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคฯสำคัญ 7 กลุ่มโรค มีการจัดบริการ อช.ครบวงจร อย่างน้อย จว.ละ 2 แห่ง

แผนงานยุทธศาสตร์ (บูรณาการ) : แผนงานยุทธศาสตร์ บริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม ปี 2560 เป้าหมาย : ร้อยละของประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม (ร้อยละ 30) มาตรการ เฝ้าระวัง และคัดกรองทางสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม โดยผ่านการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมของหน่วยบริการสาธารณสุข บูรณาการดำเนินงานป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม

แผนงานยุทธศาสตร์ (บูรณาการ) : แผนงานยุทธศาสตร์บูรณาการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม ปี 2560 โครงการพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ร้อยละของประชาชนกลุ่มเสี่ยง ได้รับการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม (ร้อยละ 30) มาตรการ 1 เฝ้าระวัง และคัดกรองสุขภาพ (ผ่านบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม) ตัวชี้วัด 1.1 จังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพผ่านเกณฑ์ในระดับดีขึ้นไป (อย่างน้อย 46 จ.) มาตรการ 2 บูรณาการดำเนินงานป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัด 2.1 อปท. มีการพัฒนาระบบในการจัดการปัญหาสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม (อย่างน้อย 12 แห่ง) ตัวชี้วัด 1.2 ร้อยละของ รพศ./รพท. สามารถจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม (ร้อยละ 50) กิจกรรมสำนักฯ 1.ผลักดันนโยบายฯ 2.บูรณาการงานกับเครือข่าย 3.พัฒนาความรู้และแนวทาง ถ่ายทอดให้เครือข่าย 4.พัฒนากลไกการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน 5.พัฒนาศักยภาพ Lab 6.จัดทำสถานการณ์ด้าน สวล. 7. สื่อสารความเสี่ยงฯ 8. ถอดบทเรียน/เวทีแลกเปลี่ยน กิจกรรม สคร. 1.คัดเลือกแหล่งกำเนิดมลพิษตามเกณฑ์ 2.จัดทำฐานข้อมูล/ทะเบียน 3.พัฒนาและสนับสนุน หน่วยบริการ สธ. 4.พัฒนาศักยภาพ จังหวัด เสี่ยงสารเคมี/Hot zone 5.สนับสนุนท้องถิ่นสร้างมาตรการ ปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อม 6.ส่งเสริมการปรับเปลี่ยน สุขศึกษา พฤติกรรมสุขภาพ 7. จัดทำสถานการณ์รายเขต กิจกรรมสำนักฯ 1.ขับเคลื่อนนโยบายฯ (คกก.) บูรณาการกรมอนามัย 2.พัฒนา พ.ร.บ. โรค Env.-Occ. 3.พัฒนาหลักสูตร ต่อยอด/ ขยายให้ อสม./อสอช. 4.บูรณาการหลักสูตร อช. และ สวล. ให้ท้องถิ่น 5.พัฒนาการรับรู้และปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมบุคคล (self care) 6. สร้าง พท.ต้นแบบ กิจกรรม สคร. 1.พัฒนา อสม./อสอช. 2.พัฒนาบุคลากรของ ท้องถิ่นและเครือข่าย 3.Self care 4.จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในพื้นที่ กิจกรรม อปท. -ดำเนินการตามมาตรฐาน การดำเนินงานเพื่อดูแลสุขภาพ ประชาชนจากมลพิษ สิ่งแวดล้อม สำหรับ อปท. เช่น 1.จัดทำทะเบียนแรงงาน และ ปชช. กลุ่มเสี่ยง 2.ดูแลสุขภาพ พนักงานอปท.ตาม พรบ. อาชีวอนามัยฯ 3.ดูแลสุขภาพประชาชน ผ่านกองทุนสุขภาพตำบล

พื้นที่ปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม ที่มา : สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค ข้อมูล ณ วันที่ 5 ก.ย. 59

แผนการดำเนินงานดูแลสุขภาพเหมืองทองคำฯ ปี 2560 มาตรการที่ 1 : พัฒนาการจัดบริการฯ พัฒนา Env. - Occ. Clinic ใน รพสต., Env. – Occ. Center ใน รพช. และ Env. - Occ. Unit ใน รพศ./รพท. จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการเฝ้าระวังสุขภาพ ปชช. ในพื้นที่เหมืองทองคำ พัฒนาบุคลากรด้านเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม มาตรการที่ 2 : การเฝ้าระวัง ติดตาม Biomarker ผู้ที่มีระดับโลหะหนักในร่างกายเกินค่าอ้างอิง ติดตามผลการลดการสัมผัสโลหะหนักของ Intervention ต่างๆ ที่ดำเนินการไปแล้ว มาตรการที่ 3 : พัฒนาวิชาการ 23 - 24 ต.ค. 59 ประชุมผู้เชี่ยวชาญ : วิเคราะห์ข้อมูลการศึกษาเชิงประเมินความเสี่ยงด้านระบาดวิทยาและเชื่อมโยงข้อมูลทางด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ จัดทำคู่มือ การเฝ้าระวัง และดูแลรักษาสุขภาพ ปชช. รอบเหมืองทองคำ (อยู่ระหว่างจัดพิมพ์) จัดประชุมผู้เชี่ยวชาญ เพื่อจัดทำข้อสรุปผลการตรวจพืช ผัก อาหาร เพื่อแจ้งหน่วยงานในพื้นที่ และสื่อสารความเสี่ยงให้กับประชาชน

ประโยชน์ที่จะเกิดกับประชาชน (Outcome/Impact) ประชาชนได้รับการเฝ้าระวัง ป้องกัน ตรวจคัดกรองสุขภาพ และดูแลสุขภาพจากมลพิษปัญหาขยะและมลพิษด้านสิ่งแวดล้อม มีระบบการจัดการปัญหาสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมในพื้นที่ตามบริบท มีข้อมูลสถานการณ์ และองค์ความรู้ในการสื่อสารความเสี่ยงเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่ประชาชนต่อการป้องกัน ดูแลสุขภาพจากมลพิษขยะและมลพิษสิ่งแวดล้อม วิธีการติดตาม และประเมินผล เก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม ตรวจประเมินตามแบบประเมินฯ

แผนงานควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ผู้ประกอบอาชีพ และประชาชน ได้รับการดูแลสุขภาพ ป้องกันโรคฯ แผนงานควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม บริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม ผู้ประกอบอาชีพภาคอุตสาหกรรม แรงงานนอกระบบ เกษตรกร แกะสลักหิน เก็บคัดแยกขยะทั่วไป+อิเล็กทรอนิกส์ แท็กซี่ ตัดเย็บผ้า 46 จว. Hot Zone กลุ่มเสี่ยงขยะ 20 จว. มลพิษอากาศ มาบตาพุด ระยอง,สระบุรี สถานประกอบกิจการ กลุ่มเสี่ยงโรคสำคัญ (Occ. 7 โรค,NCD,CD,บาดเจ็บ,สุขภาพจิต) กลุ่ม/ พื้นที่เป้าหมาย • BioMonitoring กลุ่มเสี่ยง/เกินค่ามาตรฐาน • Environmental Health Profile (Industrial Profile, Exposure Profile, Health Profile ) • MOU เชื่อมโยงข้อมูล อนามัยสิ่งแวดล้อม + สุขภาพ • สถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข • ประเมินความเสี่ยง+คัดกรองสุขภาพ + ดูแลตามความเสี่ยง,ส่งต่อตามระบบบริการฯ • เชื่อมโยงข้อมูลสุขภาพระหว่างหน่วยงาน • ประเมินความเสี่ยง + คัดกรองสุขภาพตาม ความเสี่ยง+ดูแลตามความเสี่ยง/ส่งต่อ ตามระบบบริการฯ • พัฒนาศักยภาพประชาชนในการดูแล สุขภาพจากการทำงาน (Self Care) • สนับสนุนมาตรการจัดการแก้ไขปัญหา ความเสี่ยงผ่านกองทุนสุขภาพท้องถิ่น • เชื่อมโยงข้อมูลสุขภาพระหว่างหน่วยงาน เฝ้าระวัง/ คัดกรองสุขภาพ • รพศ./รพท. : Env.-Occ.Unit • รพช. : Env.-Occ Center • รพ.สต. : Env.-Occ. Clinic • หมอครอบครัว • ตั้งศูนย์ปฏิบัติการ เฝ้าระวังสุขภาพ ปชช. รอบเหมืองทอง • พัฒนาและอบรมหลักสูตร : แพทย์ Occ-Med. พยาบาลอาชีวนามัย และ นวก.สาธารณสุข • เชื่อมโยงบริการคลินิกโรคจากการทำงาน ร่วมกับจังหวัด • บริการอาชีวอนามัยครบวงจร (นำร่อง จว.ละ 2 แห่ง) • ทดลอง OHO Model • นำร่อง Package 3 จังหวัด เขตเศรษฐกิจพิเศษ (สระแก้ว,ตาก,สงขลา) พัฒนาระบบบริการ อาชีวอนามัยและ เวชกรรมสิ่งแวดล้อม • หน่วยบริการปฐมภูมิจัดบริการอาชีว- อนามัยให้แรงงานในชุมชน (ร้อยละ 60) • ขับเคลื่อนนโยบายส่งเสริมป้องกันโรคฯ (MOU 14 องค์กร) • พื้นที่ต้นแบบด้านอาชีวอนามัยที่มีการพัฒนา ร่วมกับเครือข่าย • รูปแบบดูแลและเฝ้าระวังสุขภาพ : งานก่อสร้างและรื้อถอน , ด้านการยศาสตร์ • Unit Cost บริการส่งเสริม + ป้องกันฯ • พัฒนาศักยภาพ Lab (Test Kit ตรวจสารเคมีเกษตร) • คู่มือแนวทางตามเกณฑ์การจัดบริการ อช. • แนวทางการเฝ้าระวังโรคพิษจากสารทำ- ละลายอินทรีย์ • แนวทางการประเมินด้านสุขภาพจิต จากการทำงาน ฯลฯ วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี • คู่มือแนวทางตามเกณฑ์การจัดบริการ สวล. • รูปแบบการดูแลสุขภาพ : เหมืองทองคำ, ขยะ, สวล. • พัฒนาศักยภาพ Lab พัฒนากลไกทางกฏหมาย พัฒนา และขับเคลื่อน ร่าง พ.ร.บ.โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. …..

คูปอง ชุดของขวัญสุขภาพดี แท็กซี่ไทย โครงการรณรงค์และประชาสัมพันธ์สุขภาพผู้ขับขี่รถโดยสารสาธารณะแท็กซี่ (Healthy Taxi) คูปอง ชุดของขวัญสุขภาพดี แท็กซี่ไทย ชุดตรวจคัดกรองสุขภาพ ตรวจคัดกรองสุขภาพ โดยแบบสอบถาม ชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูง/ ดัชนีมวลกาย (BMI) วัดความดันโลหิต ตรวจสมรรถภาพ การมองเห็น เอ็กซเรย์ทรวงอก พร้อมอ่านฟิล์ม วัคซีนไข้หวัดใหญ่ (Flu 3 สายพันธุ์) พบแพทย์/ให้คำปรึกษา/แนะนำด้านสุขภาพ หน่วยบริการที่ร่วมดำเนินการ กรมควบคุมโรค - สถาบันราชประชาสมาสัย - สถาบันบำราศนราดูร - สำนักวัณโรค - สถาบันป้องกันควบคุม โรคเขตเมือง กรมการแพทย์ - โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี หน่วยบริการ ตรวจคัดกรองสุขภาพ ผลที่คาดว่าจะได้รับ สถานการณ์โรค และภัยสุขภาพ - ข้อมูลสุขภาพ - ข้อมูลการเจ็บป่วย รูปแบบการเฝ้าระวังโรคและ ภัยสุขภาพเชิงรุกโดยใช้ชุดสิทธิประโยชน์ ในการดูแลสุขภาพ ( โดย สำนักโรคจากการประกอบอาชีพฯ) เป้าหมาย ผู้ขับขี่รถโดยสารสาธารณะแท็กซี่ : ได้รับการตรวจสุขภาพ และ ได้รับการถ่ายทอดความรู้ การป้องกันและส่งเสริม สุขภาพตนเองได้อย่างถูกต้อง ปลอดโรคจากการประกอบ อาชีพและภัยสุขภาพ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพ ขับรถแท็กซี่ ฯ ในพื้นที่กทม. และปริมณฑล 3,000 ราย หน่วยงานที่ร่วมดำเนินงาน กรมควบคุมโรค กรมอนามัย กรมการแพทย์ กรมสุขภาพจิต กรมการขนส่งทางบก กระทรวงแรงงาน สำนักงานประกันสังคม สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง เสริมสุขภาพ กทม. Kick Off สถานีขนส่งหมอชิต กทม. วันที่ 20 ธ.ค. 2559 ระยะเวลาดำเนินการ : 20 ธ.ค. 2559 – 30 มี.ค.2560

แผนงานควบคุมการบริโภคยาสูบ (Tobacco)

ผลการดำเนินงานควบคุมการบริโภคยาสูบ ปี 2559 National Lead - เกิดนโยบาย มาตรการ จำนวน 2 เรื่อง (มาตรการวัยรุ่น,การควบคุมยาสูบจังหวัด) - เกิดขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบแห่งชาติฉบับที่สอง ฯสู่การปฏิบัติ Surveillance - ข้อมูลการเฝ้าระวัง สถานการณ์ที่ส่งผลต่อการบริโภคยาสูบ ใน 12 เขตบริการสุขภาพ ในประเด็น 4P และอัตราการสูบบุหรี่ในวัยรุ่น จำนวน 1 เรื่อง Model Development - ได้ทีมต้นแบบระดับเขตสุขภาพ จำนวน 4 ทีม - โรงเรียนที่ร่วมดำเนินการโรงเรียนปลอดบุหรี่ร้อยละ 65.69 (1536 แห่ง) - เครือข่ายบุคลากรและเครือข่ายเยาวชนนำแนวทางการช่วยเลิกบุหรี่ และหลักสูตรการเฝ้าระวังเพื่อการควบคุมยาสูบไปปรับใช้ตามบริบทของตนเอง ได้ร้อยละ 69.1 ( 47 เครือข่าย) - ได้แนวทางที่เป็นต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของเยาวชน โดยเยาวชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในที่ทางที่ดีขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 60

สรุปสถานการณ์ และ สภาพปัญหาที่สำคัญ อัตราการบริโภคยาสูบ การเข้าถึง/ผลิตภัณฑ์ยาสูบ/สิ่งแวดล้อม มาตรการการดำเนินงาน สรุปสถานการณ์ และ สภาพปัญหาที่สำคัญ - การบริโภคยาสูบใน ช่วง10ปีที่ผ่านมามี แนวโน้มลดลงน้อยกว่าในช่วงแรกถึงสามเท่า - เพศชายมีอัตราการบริโภคยาสูบที่สูงกว่าเพศหญิง ≈ 20 เท่า - คนในชนบทยังมีอัตราการบริโภคยาสูบสูงกว่าคนในเมือง เยาวชนอายุระหว่าง 15–18 ปี - ซื้อบุหรี่ซิกาแรตแบบแบ่งขายเพิ่มขึ้น - ซื้อบุหรี่จากร้านขายของชำ ถึงร้อยละ 97.7 - ขายบุหรี่ให้เด็กโดยไม่ถามอายุ ถึงร้อยละ 90 - มีผลิตภัณฑ์ใหม่ๆและรูปแบบการขายที่เยาวชนสามารถเข้าถึงได้ง่าย - เยาวชนคิดจะเลิกยาสูบลดลง จากร้อยละ 60.6 เหลือร้อยละ 42.6 - การบูรณาการในการดำเนินงานโรงเรียนปลอดบุหรี่ยังไม่ครอบคลุม - กลุ่มเยาวชนยังขาดความเข้าใจและตระหนักถึงพิษภัยของยาสูบที่ถูกต้อง - การติดตามประเมิน ผลการดำเนินงานยังขาดความต่อเนื่องและเป็นระบบ - ระบบบริการช่วยเลิกบุหรี่ : ประชาชนยังไม่เข้าถึงและยังขาดรูปแบบ / แนวทางที่ชัดเจน เป็นมาตรฐานเดียวกัน   - เยาวชนอายุระหว่าง 15–18 ปี มีแนวโน้มการบริโภคเพิ่มขึ้นตั้งแต่ ปี พ.ศ.2547 – 2557 - เริ่มสูบบุหรี่เป็นประจำที่อายุน้อยลง การได้รับควันบุหรี่มือสองของประชากรอยู่ในระดับสูง (เห็นคนสูบในที่สาธารณะ) อัตราการตายด้วยโรคที่เกี่ยวข้องกับบุหรี่เพิ่มขึ้น อัตราการบริโภคยาสูบของเยาวชนอายุระหว่าง 15–18 ปี ตั้งแต่ปีพ.ศ.2534 - 2544 พบว่ามีแนวโน้มลดลง จากร้อยละ 12 (ในปี พ.ศ.2534) เป็นร้อยละ 6.44 (ในปี พ.ศ.2544) คิดเป็นการเปลี่ยนแปลงลดลง ร้อยละ 4.63 ต่อปี และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2547 – 2554 จากร้อยละ 6.58 เป็น ร้อยละ 9.21 ในปี พ.ศ.2554 คิดเป็นการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น ร้อยละ 2.60 ต่อปี และผลการสำรวจปี 2556 พบว่าอัตราการบริโภคยาสูบของเยาวชนอายุระหว่าง 15–18 ปี ลดลงจาก ร้อยละ 9.21 (ในปี 2554) เป็น ร้อยละ 8.43(ในปี 2556) คิดเป็นการเปลี่ยนแปลงลดลง ร้อยละ 3.25 ต่อปี จากผลการสำรวจสถานการณ์การบริโภคยาสูบรายจังหวัด (พ.ศ. 2554) โดยศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ พบผู้ที่เริ่มสูบบุหรี่อายุน้อยที่สุดนั้น มีอายุเพียง 6 ปี และในกลุ่มเยาวชนอายุ 15–18 ปี พบว่ามีการเริ่มสูบบุหรี่เป็นประจำที่อายุน้อยลง จาก 18.67 ปี (พ.ศ. 2550) เป็น 18.1 ปี (พ.ศ. 2554) กลุ่มอายุ 15-18 ปี มีอัตราการสูบบุหรี่สูงขึ้นอย่างชัดเจนระหว่างปี 2544 -2554 และจากการเปรียบเทียบ ผลสำรวจใน ปี 2554 และปัจจุบัน (ปี 2556) พบว่ามีอัตราการสูบบุหรี่ในกลุ่มเยาวชนอายุระหว่าง 15–18 ปี มีแนวโน้มลดลงจากร้อยละ 9.21 เป็นร้อยละ 8.43 การเข้าถึงผลิตภัณฑ์ยาสูบของเยาวชน(GATs 2554) พบว่า เยาวชนอายุน้อยกว่า 18 ปี ยังคงเข้าถึงและซื้อบุหรี่ซิกาแรตแบบแบ่งขายเพิ่มขึ้น จากร้อยละ 84.3 เป็น ร้อยละ 88.3 เยาวชนอายุต่ำกว่า 18 ปี ซื้อบุหรี่จากร้านขายของชำมากที่สุดถึงร้อยละ 97.7 เยาวชนอายุต่ำกว่า 18 ปี สังเกตเห็นการโฆษณา ณ จุดขายเพิ่มขึ้น จากร้อยละ 11.6 เป็น ร้อยละ 24.5 และสังเกตเห็นกลยุทธการตลาดของอุตสาหกรรมยาสูบรูปแบบต่างๆ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 28.4 เป็น ร้อยละ 34.2 เยาวชนคิดจะเลิกยาสูบลดลง จากร้อยละ 60.6 เหลือร้อยละ 42.6 และเลิกยาสูบได้สำเร็จลดลง จากร้อยละ 6.2 เหลือ ร้อยละ2.2 จำนวน 1.2 แสนคน เหลือ 6 หมื่นคน   สถานการณ์การบริโภคยาสูบรายจังหวัด พ.ศ. 2554 โดยศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ สถานการณ์และแนวโน้มการบริโภคยาสูบของประชากรไทย พ.ศ. 2534 – 2552 โดยสำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ สถานการณ์การบริโภคยาสูบของประชากรไทยปี 2554 จำแนกตามพื้นที่ในความรับผิดชอบของ สคร. 1-12 โดยกลุ่มพัฒนาวิชาการ สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ สรุปสถานการณ์และแนวโน้มการบริโภคยาสูบของประชากรไทย รายงานประจำปี 2556 สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ กรมควบคุมโรค การสำรวจการบริโภคยาสูบในผู้ใหญ่ระดับโลกปี 2554 โดยกลุ่มพัฒนาวิชาการ สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ

โครงสร้างการดำเนินงาน กลยุทธ์อุตสาหกรรมใหม่ๆ ไม่สามารถบังคับใช้กฎหมาย การเข้าถึงของเยาวชน การช่วยเลิกบุหรี่ กลยุทธ์อุตสาหกรรมใหม่ๆ ไม่สามารถบังคับใช้กฎหมาย ช่องว่างด้านภาษี โครงสร้างภาษียาเส้น การลักลอบบุหรี่หนีภาษี โครงสร้างการดำเนินงานระดับพื้นที่ยังไม่ชัดเจน ชื้อง่าย บุหรี่ราคาถูก ผลิตภัณฑ์รูปแบบใหม่ สรุปสถานการณ์ปัญหาที่ท้าทาย ปัจจัยที่ส่งผลกระทบ มีสูบบุหรี่ในที่สาธารณะสูง การได้รับควันมือสอง ผู้สูบขาดแรงจูงใจ เข้าไม่ถึง ไม่ครอบคลุม ขาดบริการเชิงรุก การโฆษณา ส่งเสริมการขาย อัตราการบริโภคยาสูบของเยาวชนอายุระหว่าง 15–18 ปี ตั้งแต่ปีพ.ศ.2534 - 2544 พบว่ามีแนวโน้มลดลง จากร้อยละ 12 (ในปี พ.ศ.2534) เป็นร้อยละ 6.44 (ในปี พ.ศ.2544) คิดเป็นการเปลี่ยนแปลงลดลง ร้อยละ 4.63 ต่อปี และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2547 – 2554 จากร้อยละ 6.58 เป็น ร้อยละ 9.21 ในปี พ.ศ.2554 คิดเป็นการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น ร้อยละ 2.60 ต่อปี และผลการสำรวจปี 2556 พบว่าอัตราการบริโภคยาสูบของเยาวชนอายุระหว่าง 15–18 ปี ลดลงจาก ร้อยละ 9.21 (ในปี 2554) เป็น ร้อยละ 8.43(ในปี 2556) คิดเป็นการเปลี่ยนแปลงลดลง ร้อยละ 3.25 ต่อปี จากผลการสำรวจสถานการณ์การบริโภคยาสูบรายจังหวัด (พ.ศ. 2554) โดยศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ พบผู้ที่เริ่มสูบบุหรี่อายุน้อยที่สุดนั้น มีอายุเพียง 6 ปี และในกลุ่มเยาวชนอายุ 15–18 ปี พบว่ามีการเริ่มสูบบุหรี่เป็นประจำที่อายุน้อยลง จาก 18.67 ปี (พ.ศ. 2550) เป็น 18.1 ปี (พ.ศ. 2554) กลุ่มอายุ 15-18 ปี มีอัตราการสูบบุหรี่สูงขึ้นอย่างชัดเจนระหว่างปี 2544 -2554 และจากการเปรียบเทียบ ผลสำรวจใน ปี 2554 และปัจจุบัน (ปี 2556) พบว่ามีอัตราการสูบบุหรี่ในกลุ่มเยาวชนอายุระหว่าง 15–18 ปี มีแนวโน้มลดลงจากร้อยละ 9.21 เป็นร้อยละ 8.43 การเข้าถึงผลิตภัณฑ์ยาสูบของเยาวชน(GATs 2554) พบว่า เยาวชนอายุน้อยกว่า 18 ปี ยังคงเข้าถึงและซื้อบุหรี่ซิกาแรตแบบแบ่งขายเพิ่มขึ้น จากร้อยละ 84.3 เป็น ร้อยละ 88.3 เยาวชนอายุต่ำกว่า 18 ปี ซื้อบุหรี่จากร้านขายของชำมากที่สุดถึงร้อยละ 97.7 เยาวชนอายุต่ำกว่า 18 ปี สังเกตเห็นการโฆษณา ณ จุดขายเพิ่มขึ้น จากร้อยละ 11.6 เป็น ร้อยละ 24.5 และสังเกตเห็นกลยุทธการตลาดของอุตสาหกรรมยาสูบรูปแบบต่างๆ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 28.4 เป็น ร้อยละ 34.2 เยาวชนคิดจะเลิกยาสูบลดลง จากร้อยละ 60.6 เหลือร้อยละ 42.6 และเลิกยาสูบได้สำเร็จลดลง จากร้อยละ 6.2 เหลือ ร้อยละ2.2 จำนวน 1.2 แสนคน เหลือ 6 หมื่นคน   สถานการณ์การบริโภคยาสูบรายจังหวัด พ.ศ. 2554 โดยศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ สถานการณ์และแนวโน้มการบริโภคยาสูบของประชากรไทย พ.ศ. 2534 – 2552 โดยสำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ สถานการณ์การบริโภคยาสูบของประชากรไทยปี 2554 จำแนกตามพื้นที่ในความรับผิดชอบของ สคร. 1-12 โดยกลุ่มพัฒนาวิชาการ สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ สรุปสถานการณ์และแนวโน้มการบริโภคยาสูบของประชากรไทย รายงานประจำปี 2556 สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ กรมควบคุมโรค การสำรวจการบริโภคยาสูบในผู้ใหญ่ระดับโลกปี 2554 โดยกลุ่มพัฒนาวิชาการ สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ

เป้าหมายการลดโรค แนวโน้มอัตราการบริโภคยาสูบของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ปี 2534 -2557 เป้าหมาย : NCD Global target ลดการบริโภคยาสูบ 30 % 2568 ลดอัตราการบริโภคให้เหลือไม่เกิน ร้อยละ 15 หรือจำนวนผู้สูบบุหรี่ไม่เกิน 9 ล้านคน เป้าหมาย : 1. ลดการบริโภคยาสูบของประชาชนโดยเฉพาะวัยรุ่นและประชากรกลุ่มเสี่ยงในเขตชนบท 2. ทำให้สถานที่สาธารณะและสถานที่ทำงานปลอดควันบุหรี่ เพื่อลดการได้รับควันบุหรี่มือสอง ค่าเป้าหมาย ปี 2560 ปี 2562 ปี 2568 อัตราการสูบบุหรี่ ฯอายุ 15 ปีขึ้นไป (โดยรวม) ร้อยละ 17.8 16.7 15 อัตราการสูบบุหรี่ในกลุ่มวัยรุ่นอายุ 15 - 18 ปี ไม่เกินร้อยละ 9 อัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองของประชาชน ร้อยละ 15 จากปี 57 ร้อยละ 25 จากปี 57 ร้อยละ 50 จากปี 57 ความชุกของผู้สูบบุหรี่ของประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป (ร้อยละ) ร้อยละ 18 ตัวชี้วัด

Intervention มาตรการ พัฒนาระบบ และเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมการบริโภคยาสูบ ในประชากรกลุ่มเสี่ยง พัฒนากลไก รูปแบบ เพื่อสนับสนุนให้มีการบริการเพื่อลดเลิกยาสูบและระบบส่งต่อ เพิ่มกลไก พัฒนานโยบาย/กฎหมาย สร้างความร่วมมือ และการสื่อสารเพื่อป้องกันควบคุมการบริโภคยาสูบ สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ พัฒนานโยบาย กฎหมาย อนุบัญญัติ มาตรการที่สำคัญในการควบคุบยาสูบ พัฒนาระบบติดตามประเมินผลการดำเนินงานเพื่อควบคุมยาสูบ พัฒนาการสื่อสารความตระหนักเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ พัฒนาระบบเฝ้าระวัง และ สำรวจข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และด้านวิชาการ พัฒนาแนวทาง รูปแบบการให้คำปรึกษาเลิกบุหรี่ทั้งใน โรงเรียน สถานบริการ และการส่งต่อ สนับสนุน ให้คำปรึกษา ติดตามประเมินผลการดำเนินงานเพื่อเฝ้าระวัง และลดเลิกยาสูบ สำนักงานป้องกันควบคุมโรค เป็นพี่เลี้ยงในการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบ /เครือข่ายที่เกี่ยวข้องในการดำเนินเพื่อควบคุมยาสูบ พัฒนาการ สื่อสารประชาสัมพันธ์กฎหมาย หรือโทษ พิษภัย และกลยุทธ์ที่เหมาะสมกับพื้นที่ พัฒนาศักยภาพบุคลากร/เจ้าหน้าที่และภาคีเครือข่ายโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในเขตรับผิดชอบของ สคร สนับสนุน ให้คำปรึกษา ติดตามประเมินผลการดำเนินงานคัดกรองและ ลด เลิกการบริโภคยาสูบ ในสถานบริการสุขภาพ (รพศ./รพท./รพช./รพสต.)ตามแนวทางที่กำหนด สนับสนุนการดำเนินงานและนิเทศติดตามการดำเนินงานระดับจังหวัด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สนับสนุนการประสานงานกับภาคส่วนต่างๆ /บูรณาการการดำเนินการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมยาสูบ พัฒนาศักยภาพแกนนำครู/เยาวชนเฝ้าระวังป้องกันควบคุมยาสูบในโรงเรียนสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง ของเยาวชนเชิงรุก และการคำปรึกษาเลิกบุหรี่ สนับสนุน พัฒนาศักยภาพเครือข่ายในการดำเนินงานคัดกรองและ ลด เลิกการบริโภคยาสูบ การติดตามประเมินผลดำเนินงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ ควบคุมกำกับด้านวิชาการ ดำเนินโครงการการควบคุมยาสูบระดับจังหวัด รูปแบบเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบริโภคยาสูบของเยาวชน(สำนัก1เรื่อง) เยาวชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่(ร้อยละ 70) สถานศึกษามีบุคลากรที่ให้คำแนะนำการเลิกบุหรี่และส่งต่อได้ ( สคร.ละ3 เครือข่าย,สคส) โรงพยาบาลมีการให้บริการช่วยเลิกบุหรี่ (รพศ./รพท./รพช. ร้อยละ80 , รพสต. ร้อยละ 30) มีระบบเฝ้าระวังเพื่อควบคุมยาสูบระดับชาติ (สำนัก1ระบบ) จำนวนเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการเฝ้าระวังฯ(สำนัก 12 เครือข่าย) ร้อยละของโรงเรียนที่ร่วมดำเนินการโรงเรียนปลอดบุหรี่ (สำนัก, สคร ร้อยละ 20 (ไม่รวมของเดิม)) ร้อยละของโรงเรียนที่มีอัตราสูบบุหรี่นักเรียนลดลง ร้อยละ 10 จำนวนเครือข่ายครู/เยาวชนในการเฝ้าระวังแบบมีส่วนร่วม (สำนัก, สคร.ละ 3เครือข่าย จำนวนร่างกฎหมาย/อนุบัญญัติ/นโยบายสาธารณะ /มาตรการเพื่อควบคุมยาสูบ (สำนัก 2 เรื่อง) จำนวนเครือข่ายต้นแบบดำเนินการเพื่อควบคุมยาสูบระดับเขตสุขภาพและระดับจังหวัดในเขตสุขภาพ (ทุกสคร ร้อยละ 50 ของจังหวัดในเขต) จำนวนครั้งที่มีการสื่อสารเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ (สำนัก ,สคร. 4 ครั้งต่อปี)

การติดตามประเมินผล แบบรายงานผลการดำเนินงาน ทุกไตรมาส การนิเทศติดตามผลการดำเนินงาน ปีละ 1 ครั้ง การดำเนินใหม่ในปี 2560 การขับเคลื่อนการควบคุมยาสูบระดับจังหวัด โดยเน้นการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามประเด็นยุทธศาสตร์เพื่อลดอัตราการบริโภคยาสูบ

การดำเนินงานตามประเด็นยุทธศาสตร์เพื่อลดอัตราการบริโภคยาสูบของจังหวัด ช่วยคนสูบให้เลิก ย.3 ป้องกันนักสูบหน้าใหม่ ย.2 การเข้าถึง พัฒนาฯสถานบริการสธ. การศึกษา การสื่อสาร การรณรงค์ เพิ่มบทบาท การดำเนินงาน มบ. อสม. ควันบุหรี่มือสอง ย.5 กฏหมาย พรบ.ควบคุมฯ พรบ.คุ้มครองฯ การขึ้นภาษี ย.6 บ้าน/สถานประกอบการ ปลอดบุหรี่ คนสูบบุหรี่ 11.4 ล้านคน ครอบครัว สถานประกอบ การ บุหรี่เถื่อน ย.6

ขอบคุณครับ