นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0 โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข งาน Thailand Health Literacy Forum 2017 “Health Literacy: A Challenge for Contemporary Health Education in Thailand” 22 – 23 ,March, 2017 at Asia Hotel Bangkok, Thailand
ทิศทางการพัฒนาสาธารณสุขไทย
HEALTH LITERACY HEALTH BEHAVIOR
ส่งผลต่อสุขภาพของคนไทยอย่างไร HEALTH LITERACY ส่งผลต่อสุขภาพของคนไทยอย่างไร ความสามารถในการดูแลสุขภาพของคนไทย ขาดการแสวงหาและตรวจสอบข้อมูล เพื่อใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้อง เหมาะสม ไม่รู้จักดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรค ไม่ไปตรวจร่างกาย รวมถึงการไม่ปฏิบัติตามการรักษาของแพทย์ ขาดการวิเคราะห์ผลดี-ผลเสีย และการตัดสินทางเลือกในการปฏิบัติตนด้านสุขภาพที่ถูกต้อง ขาดทักษะในการเลือกรับสื่อและ ประเมินข้อความสื่อที่ถูกต้อง และน่าเชื่อ ระบบสุขภาพของคนไทย ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคสูงขึ้น โดยเฉพาะโรคเรื้อรัง ที่เป็นปัญหาระดับโลก ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลที่เพิ่มสูงขึ้น หน่วยบริการสุขภาพมีภาระหนัก ในด้านการรักษาพยาบาลจนทำให้เกิดข้อจำกัดในการทำงานด้านการส่งเสริมสุขภาพ
คนไทย HEALTH LITERACY ต่ำ แนวโน้มพฤติกรรมเสี่ยงเพิ่มขึ้น เกิดโรคสูงขึ้น โดยเฉพาะโรคเรื้อรัง ที่เป็นปัญหาระดับโลก การพัฒนายกระดับ HEALTH LITERACY โดย.... * การขับเคลื่อนนโยบายการพัฒนา * บูรณาการความร่วมมือ ทุกภาคส่วน แนวโน้ม พฤติกรรมถูกต้องเพิ่มขึ้น -ลดอัตราการเกิดโรค -ลดค่าใช้จ่าย -ประชาชนสุขภาพดี
การพัฒนายกระดับ HEALTH LITERACY คนไทย เป้าหมายการพัฒนา : คนไทยมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ทุกช่วงวัย คุณลักษณะของคนไทยที่มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ มีความสามารถและทักษะในการจัดการตนเองด้านสุขภาพ - การเข้าถึงข้อมูลและบริการสุขภาพ - ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตนด้านสุขภาพ - การสื่อสารเพื่อเพิ่มความเชี่ยวชาญทางสุขภาพ - การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศเพื่อเสริมสร้างสุขภาพ - การตัดสินใจเลือกปฏิบัติที่ถูกต้อง - การจัดการเงื่อนไขของตนเองเพื่อเสริมสร้างสุขภาพ
การพัฒนา HEALTH LITERACY ยุทธศาสตร์การพัฒนา สร้างกระแสและเตือนภัยข้อมูลข่าวสาร เพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ 1.สร้างวัฒนธรรม สุขภาพและ สมรรถนะในการ ดูแลสุขภาพ สร้างโอกาสการเรียนรู้ ทั้งในและนอกระบบการศึกษา เสริมศักยภาพประชาชนคนไทย ให้รู้เท่าทันสื่อ พัฒนากลไกความร่วมมือของภาคีเครือข่ายทั้งในและนอกประเทศ
การพัฒนา HEALTH LITERACY ยุทธศาสตร์การพัฒนา สร้าง National Information & Management Center 2.พัฒนาระบบกลไก การบริหารจัดการ เสริมสร้างความ รอบรู้ด้านสุขภาพ พัฒนาแผนบูรณาการระดับประเทศ เพื่อการขับเคลื่อน กำกับติดตาม ขยายผลและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง พัฒนากลไกความร่วมมือของภาคีเครือข่ายทั้งในและนอกประเทศ
ความร่วมมือเพื่อการพัฒนายกระดับ HEALTH LITERACY สู่ ยุค 4.0 กระทรวงศึกษาธิการ : สพฐ. -ขับเคลื่อนเชิงนโยบาย สู่สถานศึกษา สสส.,สปสช. -แหล่งทุนสนับสนุนการพัฒนาองค์ความรู้ WHO -ขับเคลื่อนนโยบาย สู่นานาประเทศ มหาวิทยาลัย. -การพัฒนาวิชาการองค์ความรู้การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข: National Information & Management Center กระทรวงต่างประเทศ: กรมอาเซียน -ความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศอาเซียน กระทรวงมหาดไทย: กรมส่งเสริมการปกครองส่วนถิ่น -ขับเคลื่อนเชิงนโยบาย สู่ท้องถิ่น/ชุมชน กระทรวงแรงงานฯ: -ขับเคลื่อนเชิงนโยบาย สู่สถานประกอบการ ประชาคมอาเซียน