การแปลงยุทธศาสตร์สู่แผนปฏิบัติการ ผู้อำนวยการสำนักทันตสาธารณสุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
งานส่งเสริมทันตสุขภาพ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
สกลนครโมเดล.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
ประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย (Strategic Issues)
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
ยุทธศาสตร์สุขภาพ กลุ่มแม่และเด็ก
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
การขับเคลื่อน แผนยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2551
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
นายแพทย์อรรถพล แก้วสัมฤทธิ์
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
การตรวจราชการ “ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน”
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
อสม.ดีเด่น สาขาทันตสุขภาพ
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
บทบาทกรมอนามัยต่อการขับเคลื่อน มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
P S G 5P MODEL Policy PASSION PLANNING PEOPLE PROCESS PERFORMANCE
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
Cluster วัยเรียน ปีงบประมาณ 2562
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การแปลงยุทธศาสตร์สู่แผนปฏิบัติการ ผู้อำนวยการสำนักทันตสาธารณสุข ประจำปี พ.ศ.2560 ด้านส่งเสริมสุขภาพ หน่วยงานส่วนกลาง ทพญ.ปิยะดา ประเสริฐสม ผู้อำนวยการสำนักทันตสาธารณสุข 24 สิงหาคม 2559

แผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี นโยบายและแนวทางการดำเนินงานของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ.คลินิกเกียรติคุณ นพ.ปิยะสกล สกลสัตยาทร แผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) จุดยืนองค์กร ส่วนกลาง : พัฒนานโยบาย กำกับ ติดตามประเมินผล ส่วนภูมิภาค (เขตสุขภาพ) : บริหารจัดการหน่วย บริการ และขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติ วิสัยทัศน์ (Vision) : เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พันธกิจ (Mission) : พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วม และยั่งยืน เป้าหมาย (Intention) : ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน ยุทธศาสตร์หลักที่เกี่ยวข้องกับกรมอนามัย : Prevention & Promotion Excellence แผนงาน : - พัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย - การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมฯ 1) ให้ความสำคัญสูงสุดต่อการพัฒนางาน สาธารณสุขตามแนวพระราชดำริฯ 2) พัฒนาการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ให้ประชาชนทุกกลุ่มวัย 3) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ 4) ให้ความสำคัญในการพัฒนากำลังคน ด้านสาธารณสุข 5) เร่งรัดปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบกฎเกณฑ์ ให้เอื้อต่อการปฏิบัติงานสาธารณสุข 6) สนับสนุนกลไกการทำงานสาธารณสุข

ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย : เป้าประสงค์ 1.ตั้งครรภ์คุณภาพ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย 2.เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย 3.เด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน เด็กวัยเรียนเจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ วัยรุ่นมีทักษะชีวิตและพฤติกรรมการอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม วัยทำงานหุ่นดี สุขภาพดี ผู้สูงอายุสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย(0-5 ปี) : ส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ ตัวชี้วัด 1) อัตราส่วนมารดาตายต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2) เด็ก 0-5 ปี พัฒนาการสมวัย 3) เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน 4) เด็กอายุ 3 ปีไม่ฟันผุ กลยุทธ์ 1. พัฒนาระบบและกลไกการส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วนและปราศจากฟันผุ 2. สร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมในการ ส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วนและ ปราศจากฟันผุ มาตรการ 1. ผลักดันและขับเคลื่อนนโยบายโภชนาการ 1,000 วันแรก และนโยบายดื่มนมแห่งชาติ 2. พัฒนาระบบบริการสาธารณสุขทุกระดับในจัดบริการด้านโภชนาการและ ส่งเสริมสุขภาพช่องปากอย่างมีคุณภาพ งาน/โครงการ (งบ 42.6 ล้าน) 1. ตั้งครรภ์คุณภาพเพื่อลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย 13.1 ล้าน 2. เด็กไทยรุ่นใหม่แข็งแรง สมองดี พร้อมเรียนรู้ 16.6 ล้าน 3. พัฒนาศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ 12.9 ล้าน

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย ตัวชี้วัด กลยุทธ์ กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย(0-5 ปี) : ส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ พัฒนาการบริการและการจัดการเพื่อการตั้งครรภ์คุณภาพและมารดา 1.อัตราส่วนการตายมารดาไม่เกิน 15 ต่อแสนการเกิดมีชีพ 1. ส่งเสริมบทบาทของพ่อแม่หรือผู้ปกครองในการเลี้ยงดูเด็กที่ถูกต้องเหมาะสม 2. พัฒนาระบบบริการและกลไกในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 3. บูรณาการและสร้างการมีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็กองค์รวม 2.ร้อยละ 80 ของเด็กอายุ0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย พัฒนาระบบและกลไกการส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วนและปราศจากฟันผุ สร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วนและปราศจากฟันผุ 3.เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 และสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี ชาย=113ซม. หญิง=112ซม. 4.เด็กอายุ 3 ปี ฟันไม่ผุร้อยละ 53

งบฯบูรณาการกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย 2560 โครงการ งบดำเนินการ (ล้านบาท) ส่วนกลาง ศอ. 1.โครงการตั้งครรภ์คุณภาพเพื่อลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย (สำนักส.) 5.200 2.900 2.300 2. โครงการส่งเสริมโภชาการการสตรีและเด็กปฐมวัย (สำนักภ.) 8.066 5.406 2.660 3.โครงการเด็กไทยรุ่นใหม่แข็งแรง สมองดี พร้อมเรียนรู้ (สำนักส./กองออกฯ/สถาบันเด็ก) 6.747 3.777 2.970 4. โครงการพัฒนากฏหมายและการควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็ก พ.ศ...(สำนักส./ศูนย์กฏหมาย/อย./IHPP/UNICEF) 4.134 - 5. โครงการสำรวจพัฒนาการและพฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็กปฐวัยครั้งที่ 6 ปี 2560 (DENVERll) (สำนักส./สำนักภ./สำนักท./ศูนย์1-13) 4.420 1.520 6. โครงการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ (สถาบันเด็ก) 10.525 2.225 8.300 7.โครงการกลไกการจัดการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย (งบกลาง cluster) 2.464 8. โครงการส่งเสริมสุขภาพสตรีและเด็กปฐมวัยองค์รวมในชุมชน (สำนักท./สำนักส./สำนักภ./กองออก) 1.004 42.560 23.43 19.130

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย เด็กวัยเรียน(5-14 ปี) : ส่งเสริมเด็กวัยเรียนให้แข็งแรงและฉลาด ตัวชี้วัด 1. เด็กวัยเรียน (6-14 ปี) สูงสมส่วน และเด็กอายุ 14 ปี มีส่วนสูงเฉลี่ยตามเกณฑ์ 2. เด็กวัยเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ด้านการบริโภคอาหาร สมรรถภาพ และทันตสุขภาพ กลยุทธ์ 1. ขับเคลื่อนนโยบายการส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน 2. ส่งเสริมสุขภาพและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ 3. ร่วมมือกับภาคีเครือข่ายและต่อยอดให้กลายเป็น การทำงานในลักษณะของ Partnership มาตรการ 1. พัฒนาระบบและกลไกการขับเคลื่อนกระบวนการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 2. ขับเคลื่อนนโยบายลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ด้านสุขภาพ 3. ผลักดันการจัดบริการสุขภาพนักเรียนฯ ในระบบประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2559 งาน/โครงการ (งบ 36.1 ล้าน) 1. เด็กวัยเรียนสูงดี สมส่วน สมองดี แข็งแรง 3.1 ล้าน 2. ลดปัญหาภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนในเด็กวัยเรียน 3.6 ล้าน 3. เด็กไทยสายตาดี 7.0 ล้าน 4. รร.ส่งเสริมสุขภาพ เพิ่มโอกาสการเรียนรู้ ตามนโยบาย "ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้“ 16.1 ล้าน 5. เด็กไทยสุขภาพดี 6.3 ล้าน หมายเหตุ * KPIในยุทธ 20ปีกระทรวงใช้ outcome วัดที่ ร้อยละอายุ 0-12 ปี ไม่มีฟันผุ

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย เด็กวัยเรียน(5-14 ปี) : ส่งเสริมเด็กวัยเรียนให้แข็งแรงและฉลาด เด็กวัยเรียนแข็งแรงและฉลาด โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เครือข่ายโรงเรียนฟันดีสุขภาพดี และโครงงานสุขภาพ โครงการจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ โครงการ ChoPA ChiPA องค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ, Campaign รณรงค์ดื่มนม, SKC สำรวจพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ นิเทศ ติดตาม ประเมินรับรอง/ประเมินประกวด และประเมินผล โครงการเด็กไทยสายตาดี

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย กลุ่มวัยรุ่น(15-19 ปี) : ส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม ตัวชี้วัด วัยรุ่นมีทักษะชีวิตและพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม กลยุทธ์ 1. เร่งรัดการบริหารและขับเคลื่อนกฎหมาย 2. ส่งเสริมการตลาดเพื่อสังคม (Social Marketing) ให้มากขึ้น มาตรการ 1. เร่งรัดออกกฎกระทรวง ภายใต้ พรบ. การป้องกันและแก้ปัญหา การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 2. แสวงหาและสร้างพันธมิตรร่วมดำเนินงาน งาน/โครงการ (งบ 34.7 ล้าน) 1. ขับเคลื่อนพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 9.2 ล้าน และพัฒนาระบบเฝ้าระวังด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ (แท้ง, ตั้งครรภ์แม่วัยรุ่น) 2. สร้างภูมิคุ้มกันเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงและการก้าวสู่การเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ 25.5 ล้าน - พัฒนาบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน (อาชีวศึกษา มหาวิทยาลัย) - พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ และช่องทางการสื่อสารกับวัยรุ่น - จัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรและสร้างการมีส่วนร่วมและพัฒนาภาคีอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นและเยาวชน - สื่อสารเรื่องเพศระหว่างวัยรุ่นกับครอบครัว

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย กลุ่มวัยทำงาน(15-59 ปี) : ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงานที่พึงประสงค์ ตัวชี้วัด 1.ร้อยละของวัยทำงานอายุ 30-44 ปี มี BMI ปกติ 2. ร้อยละของวัยทำงานมีพฤติกรรมสุขภาพ ที่พึงประสงค์ กลยุทธ์ พัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ระดับชาติที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ของกลุ่มวัยทำงาน การเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่วัยสูงอายุ มาตรการ 1. ทำข้อเสนอเชิงนโยบายและยุทธศาสตร์ระดับชาติ เรื่อง Active living Healthy Eating … 2. ส่งเสริมวัยทำงานอายุ 15-59 ปี มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ เช่น อนามัยส่วนบุคคล ดูแลสุขภาพช่องปาก ไม่สูบบุหรี่ ออกกำลังกาย ฯลฯ งาน/โครงการ (งบ 12.1 ล้าน) 1. สร้างเสริมสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน 3.8 ล้าน 2. สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ 8.3 ล้าน

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย กลุ่มวัยทำงาน(15-59 ปี) : ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงานที่พึงประสงค์ งบบริหารจัดการ cluster งบพัฒนาบุคลากร โครงการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในชุมชน (2,200,000) ในสถานที่ทำงาน (งบ สสส.) ในสถานบริการ (3,000,000) บริหารจัดการ 6,100,000 510,000 รวม 12.11 ล้านบาท กลยุทธ์ที่ 3 กลยุทธ์ที่ 2 300,000 5,200,000 กลยุทธ์ที่ 1 โครงการพัฒนาชุดความรู้ตามกลุ่มอายุและการเตรียม ความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุ (3,200,000) โครงการดูแลและเฝ้าระวังสตรีไทยจากมะเร็งเต้านม (2,200,000) พัฒนาระบบการ ติดตามประเมินผลโครงการ (500,000) โครงการพัฒนาชุด มาตรฐานข้อมูลด้านพฤติกรรมสุขภาพ (200,000) โครงการนโยบายระดับชาติเรื่อง Healthy eating, Active Living and Environmental Health (300,000 บาท)

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย กลุ่มผู้สูงอายุ : ส่งเสริมผู้สูงอายุไทยเพื่อเป็นหลักชัยของสังคม เป้าประสงค์ : ผู้สูงอายุสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี ตัวชี้วัด 1. อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี (Health-Adjusted Life Expectancy : HALE) 2. ผู้สูงอายุ มีฟันแท้อย่างน้อย 24 ซี่ กลยุทธ์ : 3 S Social มีส่วนร่วมในสังคม Strong : Healthy มีสุขภาพดี Secure แผนงานบูรณาการกลุ่มวัยผู้สูงอายุและผู้พิการ แผนงานเสมอภาคเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ 1.โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและป้องกันภาวะสมองเสี่อมในผู้สูงอายุ (งบ 10.5 ล้านบาท) 2.โครงการพัฒนาระบบการดูแลระยะยาวผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในตำบล LTC (งบ50.43 ล้านบาท) 3.โครงการทันตสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2558-2565 (งบ30.716 ล้าน)

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย กลุ่มผู้สูงอายุ : ส่งเสริมผู้สูงอายุไทยเพื่อเป็นหลักชัยของสังคม 1.โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและป้องกันภาวะสมองเสี่อมในผู้สูงอายุ (งบ 10.5 ล้านบาท) 2.โครงการพัฒนาระบบการดูแลระยะยาวผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในตำบล LTC (งบ50.43 ล้านบาท) 3.โครงการทันตสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2558-2565 (งบ30.716 ล้าน) กิจกรรม 1. การพัฒนาระบบ กลไก เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการ (7.916ล้าน) 2. การพัฒนาศักยภาพบุคลากร และเครือข่าย ด้านทันตกรรม ผู้สูงอายุ (8.8ล้าน) 3. พัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม เพื่อลดปัญหามะเร็งช่องปาก และโรคในช่องปากที่สัมพันธ์กับโรค เรื้อรังทางระบบ (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง) (14 ล้าน) กิจกรรม : 1.สนับสนุนส่งเสริมการ ประเมินและคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น เพื่อเฝ้าระวัง ผสอ. ในชุมชน (7.0 ล้านบาท) 2.พัฒนาศักยภาพบุคลากรและ เครือข่าย ผ่านเวทีลปรร. ถอดบทเรียน (3.5 ล้านบาท) กิจกรรม : อบรม CM (34.1928ล้าน) อบรมCG (9.1745ล้าน) พัฒนาสมุดบันทึกสุขภาพ พัฒนาคู่มือสิ่งแวดล้อม

>> ขอบคุณค่ะ<<