งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นายแพทย์อรรถพล แก้วสัมฤทธิ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นายแพทย์อรรถพล แก้วสัมฤทธิ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นายแพทย์อรรถพล แก้วสัมฤทธิ์
22 มิถุนายน 2560

2 แผนที่ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ ) วิสัยทัศน์กรมฯ “กรมอนามัยเป็นองค์กรหลักของประเทศในการอภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อประชาชนสุขภาพดี” มิติที่ 1 ประชาชน  ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างความเข้มแข็งระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชนอย่างยั่งยืน 1.1 ส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ 1.2 ส่งเสริมเด็กวัยเรียนให้แข็งแรงและฉลาด 1.3 ส่งเสริม พฤติกรรม อนามัยการเจริญ พันธุ์ที่เหมาะสม สำหรับวัยรุ่น   1.4 ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงานที่พึงประสงค์ 1.5 ส่งเสริม ผู้สูงอายุไทย เพื่อเป็นหลัก ชัยของสังคม เป้าประสงค์ที่ 1 ตั้งครรภ์คุณภาพ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย เป้าประสงค์ : เด็กวัยเรียน เจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ เป้าประสงค์ : วัยรุ่นมีทักษะชีวิตและพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม เป้าประสงค์ : ประชากรวัยทำงาน หุ่นดี สุขภาพดี เป้าประสงค์ : ผู้สูงอายุสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี เป้าประสงค์ : ชุมชนมีความเข้มแข็งในการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของชุมชน (Active Communities) เป้าประสงค์ที่ 2 เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย เป้าประสงค์ที่ 3 เด็กอายุ 0-5 ปี สูงสมส่วน มิติที่ 2 คุณภาพระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม เป้าประสงค์ : ภาคีเครือข่ายภาครัฐร่วมดำเนินการ สามารถนำสินค้าและบริการ (Product Champion) ของกรมอนามัยไปดำเนินการและพัฒนาเพื่อใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล มิติที่ 3 กระบวนการภายใน เป้าประสงค์ที่ 2 เป็นองค์กรที่มีสมรรถนะสูง (HPO) มิติที่ 4 การเติบโตนวัตกรรมและศักยภาพ เป้าประสงค์ที่ 1 เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (LO) เป้าประสงค์ที่ 3 เป็นองค์กรที่มีธรรมาภิบาล

3 ที่มา: เล่ม แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ ) กองแผนงาน

4 ภาพแสดงกระบวนงานหลักของกรมอนามัยในภาพรวม
ที่มา: เล่ม รวมพลัง เปลี่ยนกรมอนามัย DoH Change รวมพลัง เปลี่ยนกรมอนามัย DoH 4.0 องค์กรคุณภาพคู่คุณธรรม สำนักงานบริหารการเปลี่ยนแปลง กรมอนามัย

5 กระบวนงานหลักกรมอนามัย (Core Business Process) ชุดโครงการวิจัยขนาดใหญ่
3. National Policy & strategy 2. E-distribution 4. ชุดโครงการวิจัยขนาดใหญ่ 5. Job Rotation Job Assignment 1. 100 ตำบล ที่มา: เล่ม รวมพลัง เปลี่ยนกรมอนามัย DoH Change รวมพลัง เปลี่ยนกรมอนามัย DoH 4.0 องค์กรคุณภาพคู่คุณธรรม สำนักงานบริหารการเปลี่ยนแปลง กรมอนามัย

6

7 ระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
คนไทยมีสุขภาพดีตลอดช่วงชีวิตอย่างน้อยจนถึงอายุ 72 ปี (HALE) และอายุคาดเฉลี่ย 80 ปี (Life Expectancy:LE) ชุมชนมีศักยภาพในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม (Active Citizen , Community, Healthy City) A2 I M = 3G+3P+P3Env(LCA)+PIRAB(National/Region/Local) การประเมินสถานการณ์ การชี้นำ มาตรการ การบริหารจัดการและธรรมาภิบาล (ติดตามประเมินและสนับสนุน) - การชี้นำ สร้างกระแส ชักชวน ให้เห็นความสำคัญ การกำหนดนโยบายเพื่อความร่วมมือในการลงทุนด้านสุขภาพและจัดสรรทรัพยากรและงบประมาณร่วมกัน กำหนดนโยบาย - กำหนดเป้าหมายอนาคตของเส้นทางชีวิตและสุขภาพ 5 กลุ่มวัย (Life course approach) - พัฒนาและผลิต High Touch & High Technology เพื่อการส่งเสริมสุขภาพโดยมีเป้าหมาย คือ - กลุ่มปกติ ให้มีศักยภาพดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้องสูงสุด - กลุ่มเสี่ยง กำจัดหรือลดความเสี่ยงปัจจัยต่างๆที่ส่งต่อสุขภาพ - กลุ่มป่วย ฟื้นฟูสภาพให้กลับมาปกติหรือคงสภาพให้ใกล้เคียงกับกลุ่มปกติ - กำหนดคุณสมบัติ บรรทัดฐาน, มาตรฐาน ของการมีสุขภาพและสิ่งแวดล้อมที่ดี ในระดับบุคคลหรือพื้นที่ เช่น อำเภอ, จังหวัด การส่งเสริมสุขภาพ ระดับประเทศ/กระทรวง ระดับเขต/จังหวัด/ อำเภอ ระดับท้องถิ่น/ชุมชน การติดตาม กำกับ A I สถานการณ์สุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม - ข้อมูลจาก ระบบ การรายงาน เฝ้าระวัง* เวชระเบียน / วิจัย ฯลฯ Model Development Health &En.H. Provincial Profile Healthy Settings Health& Env.H.City Profile เครือข่าย ระดับนโยบาย EHA ระบบประเมินรับรอง Health Promotion & Env. R R การวินิจฉัยสถานการณ์ Policy+ Law Regulation P หุ้นส่วนภาคีเครือข่าย วิเคราะห์แบ่งสถานการณ์ประชากร 3 กลุ่ม การป้องกัน กระทรวงสาธารณสุข - ขับเคลื่อน ค้นหาและแก้ปัญหาด้านสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมร่วมกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องใน ทุกภาคส่วน - การกำจัดหรือลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ - การเสริมพลังบุคคลหรือชุมชน - สร้างพฤติกรรมและวิถีชีวิตที่เหมาะสม - กำหนดกรอบมาตรฐานหรือคุณลักษณะ ของ Healthy people และ Healthy City กลุ่มที่ 1 เขตสุขภาพ/ศอ. อสธจ. ปกติ อปท. กลุ่มที่ 2 เสี่ยงเจ็บป่วย สสส. สช. คร. สปสช. สบส. ตำบลบูรณาการ กลุ่มที่ 3 เจ็บป่วย ประชาชน/กลุ่มประชากร การปกป้องคุ้มครอง B *เฝ้าระวัง 6 Cluster (5 กลุ่มวัย + อนามัยสิ่งแวดล้อม) 5 มิติ (Risk factor, Protective factor, Promoting intervention, Health outcome, Life impact) 36 ตัวชี้วัด เช่น มารดาตาย, พัฒนาการสมวัย, สูงดีสมส่วน, คลอดซ้ำในวัยรุ่น, BMI ปกติ, พฤติกรรมที่เหมาะสม, การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ฯลฯ สร้างความเข้าใจ และเสริมพลังให้ประชาชนมีความรู้และเท่าทันต่อสถานการณ์สุขภาพ -ชี้นำและผลักดันให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพ / วิถีชีวิตที่เหมาะสม - การประกันคุณภาพการบริการด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม - การยกระดับการเข้าถึงบริการ - การออกกฎหมายและการบังคับใช้ รพ.สต. อสม./ แกนนำ ชุมชน DOH (Env.H Cluster + 5 กลุ่มวัย Cluster) Strategy Technical Support โดยการ Regulate สสจ. DHS สสอ./ รพช. อนามัยสิ่งแวดล้อม Regulate Support/ Support/ Regulate - สร้างความร่วมมือทุกภาคส่วนในการจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี เช่น ด้านกายภาพ สังคม จิตวิทยา และเศรษฐกิจ ภาคีเครือข่ายระดับเขต/จังหวัด ภาคีเครือข่ายระดับท้องถิ่น/ชุมชน *PIRAB 1. Partner 4. Advocate 2. Invest 5. Build Capacity 3. Regulate Version Thai

8 Assessment : ประเมิน Advocacy : เป็นปากเป็นเสียง
1. สังเคราะห์ใช้ความรู้ 2. ดูภาพรวม Management:บริหาร/อภิบาล Advocacy : เป็นปากเป็นเสียง อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 3. กำหนดนโยบาย 6. กำกับดูแลเพื่อให้เกิดการดำเนินการ 4. ออกแบบระบบและกระบวนการส่งเสริมสุขภาพฯ Intervention : ปฏิบัติการ 5. ประสานความร่วมมือ โดย...นพ.วชิระ เพ็งจันทร์ อธิบดีกรมอนามัย

9

10 Thank you


ดาวน์โหลด ppt นายแพทย์อรรถพล แก้วสัมฤทธิ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google