ป.ย.ป. คณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง เป็นส่วนที่ตั้งขึ้นโดยอาศัยอํานาจตามความในมาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557 จุดประสงค์ ป.ย.ป.เพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง และการขับเคลื่อนปฏิรูปประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับ รัฐธรรมนูญ และแผนต่าง ๆ ตามนโยบายคณะรัฐมนตรีและคสช. ให้ดำเนินต่อไปด้วยความรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ คณะกรรมการ ป.ย.ป. ประกอบด้วย นายกรัฐมนตรี เป็นประธาน และรองนายกรัฐมนตรี,รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเป็นกรรมการ
ข้อ 1. โครงการไทยนิยม ยั่งยืน ไม่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีในเรื่องใด ก. ด้านความมั่นคง ข. ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ค. ด้านพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพของคน ง. ด้านการโอกาสความเสมอภาค เท่าเทียมกันทางด้านสังคม
ข้อ 2. หลักในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ ตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน กำหนดไว้กี่ข้อ ก. 6 ข้อ ข. 9 ข้อ ค. 10 ข้อ ง. 11 ข้อ
ข้อ 3 ข้อใดไม่ใช่แผนพัฒนาประเทศ และยุทธศาสตร์การพัฒนา ตามที่โครงการไทยนิยม ยั่งยืน ต้องการขับเคลื่อนแผนสู่การปฏิบัติ เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ก. ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ข. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ค. แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี ง. ยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่ เพื่อเสริมสร้างความมั่นคง ของชาติ
ข้อ 4 คณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการไทยนิยม ยั่งยืน มีกี่ระดับ ก. 1 ระดับ ข. 2 ระดับ ค. 3 ระดับ ง. 4 ระดับ
ข้อ 5 ใครคือประธานคณะกรรมการขับเคลื่อนไทยนิยม ยั่งยืน ในระดับชาติ ก. นายกรัฐมนตรี ข. หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ค. ประธานสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ง. ประธานสภาการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ข้อ 6 กระทรวงใดมีบทบาทสำคัญที่สุด ในการประสานการขับเคลื่อนโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ในระดับภูมิภาค ก. กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ข. กระทรวงมหาดไทย ค. กระทรวงศึกษา ง. ทุกกระทรวง
ข้อ 7 ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับหลักการขับเคลื่อนโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ก. ส่งเสริมความสามัคคี ปองดอง ข. ลงทะเบียนผู้มีรายได้น้อย ค. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ง. แก้ไขปัญหายาเสพติด
ข้อ 8 ข้อใดไม่ใช่วัตถุประสงค์ ของโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ก. บูรณาการ การขับเคลื่อนงาน/โครงการต่าง ๆ ในระดับ หมู่บ้าน ร่วมกันตามแนวทางประชารัฐ ข. พัฒนาแก้ไขปัญหาในมิติด้านเศรษฐกิจ สังคม และ ความมั่นคง ค. สร้างความตระหนัก ความรับรู้ และบทบาทหน้าที่ ของ ปวงประชาชนในการมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ ง. ส่งเสริมเรื่องการปกครองแบบประชาธิปไทย
ข้อ 9 ในส่วนของกระทรวงศึกษาธิการ ข้่อใดไม่ใช่ทีมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ระดับตำบล ก. สถานศึกษาและสถาบันการศึกษาในระดับตำบล ข. กศน.ตำบล ค. ศูนย์การเรียนรู้ตำบล ง. สพป.และ สพม.ในตำบล
ข้อ 10 ผู้นำท้องที่ ปราชญ์ชาวบ้าน และจิตอาสา “เราทำความดีด้วยหัวใจ” สอดคล้องกับการขับเคลื่อนโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ในระดับใด ก. ระดับจังหวัด ข. ระดับอำเภอ ค. ระดับตำบล ง. ระดับหมู่บ้าน
ข้อ 11 กรอบหลักในการดำเนินการเพื่อการมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศไทยสู่ความยั่งยืน มีจำนวนกี่เรื่อง ก. 8 เรื่อง ข. 9 เรื่อง ค. 10 เรื่อง ง. 11 เรื่อง
ข้อ 12 กรอบหลักในการดำเนินการเพื่อการมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศไทยสู่ความยั่งยืน ข้อใดเป็นข้อแรก ก. คนไทยไม่ทิ้งกัน ข. สัญญาประชาคมผูกใจไทยเป็นหนึ่ง ค. ชุมชนอยู่ดีมีสุข ง. รู้สิทธิ รู้หน้าที่ รู้กฏหมาย
ข้อ 13 ข้อใดของกรอบหลักในโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ที่เกิดจากการเพิ่มเติมของนายกรัฐมนตรีในรายการ “ศาสตร์พระราชา” ก. คนไทยไม่ทิ้งกัน ข. วิถีไทยวิถีพอเพียง ค. รู้เท่าทันเทคโนโลยี ง. งานตามภารกิจของทุกหน่วยงาน
ข้อ 14 การบูรณาการขับเคลื่อนโครงการสู่เป้าหมายระดับหมู่บ้าน/ชุมชน ใช้แนวทางตามข้อใด ก. แนวทางศาสตร์พระราชา ข. แนวทางของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ค. แนวทางของนายกรัฐมนตรี ง. แนาวทางประชารัฐ
ข้อ 15 พัฒนาและแก้ไขปัญหาในมิติ ทั้ง 3 ด้าน ยกเว้นข้อใด ก. เศรษฐกิจ ข. สังคม ค. ความมั่นคง ง. การเมือง
ข้อ 16 ข้อใด ไม่ใช่ คณะกรรมการ ตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ก. คณะกรรมการอำนวยการขับเคลื่อนการพัฒนาตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ข. คณะกรรมการอำนวยการขับเคลื่อนการพัฒนาตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ระดับจังหวัด/กทม. ค. คณะกรรมการอำนวยการขับเคลื่อนการพัฒนาตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ระดับอำเภอ/เขต ง. คณะกรรมการอำนวยการขับเคลื่อนการพัฒนาตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ระดับตำบล/ชุมชน
ข้อ 17 เป้าหมายในการมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาประเทศไทยสู่ความยั่งยืน มีจำนวนกี่จังหวัด ก. 74 จังหวัด ข. 75 จังหวัด ค. 76 จังหวัด ง. 77 จังหวัด
ข้อ 18 เป้าหมายในการมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาประเทศไทยสู่ความยั่งยืน มีจำนวนกี่อำเภอ ก. 875 อำเภอ ข. 876 อำเภอ ค. 877 อำเภอ ง. 878 อำเภอ
ข้อ 19 เป้าหมายในการมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาประเทศไทยสู่ความยั่งยืน พื้นที่กรุงเทพมหานคร มีจำนวนกี่เขต ก. 30 เขต ข. 40 เขต ค. 50 เขต ง. 60 เขต
ข้อ 20 เป้าหมายในการมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาประเทศไทยสู่ความยั่งยืน มีจำนวนกี่ทีม ก. 7,663 เขต ข. 7,662 เขต ค. 7,661 เขต ง. 7,660 เขต
ข้อ 21 พื้นที่ดำเนินการ ตามเป้าหมายโครงการไทยนิยม ยั่งยืน คือข้อใด ก. 83,150 แห่ง ข. 83,151 แห่ง ค. 83,152 แห่ง ง. 83,153 แห่ง
ข้อ 22 จำนวนทีมขับเคลื่อนตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน คือข้อใด ก. 7,254 ทีม ข. 7,255 ทีม ค. 7,256 ทีม ง. 7,257 ทีม
ข้อ 23 จำนวนหมู่บ้านตามพื้นที่ดำเนินการขับเคลื่อนตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน คือข้อใด ก. 75,030 หมู่บ้าน ข. 75,031 หมู่บ้าน ค. 75,032 หมู่บ้าน ง. 75,033 หมู่บ้าน
ข้อ 24 จำนวนทีมพื้นที่ชุมชนเมือง ขับเคลื่อนตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน คือข้อใด ก. 108 ทีม ข. 208 ทีม ค. 308 ทีม ง. 408 ทีม
ข้อ 25 จำนวนพื้นที่ชุมชนเมือง ในการดำเนินการขับเคลื่อนตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน คือข้อใด ก. 6,050 ชุมชน ข. 6,051 ชุมชน ค. 6,052 ชุมชน ง. 6,053 ชุมชน
ข้อ 26 จำนวนทีมพื้นที่ชุมชนกรุงเทพมหานคร ในการดำเนินการขับเคลื่อนตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน คือข้อใด ก. 50 ทีม ข. 100 ทีม ค. 150 ทีม ง. 200 ทีม
ข้อ 27 จำนวนพื้นที่ดำเนินการในเขตกรุงเทพมหานคร ในการดำเนินการขับเคลื่อนตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน คือข้อใด ก. 2,066 ชุมชน ข. 2,067 ชุมชน ค. 2,068 ชุมชน ง. 2,069 ชุมชน
ข้อ 28 ข้อใดไม่เป็นกรอบแนวทางเพื่อให้ ส่วนราชการ หน่วยงานในการดำเนินการขับเคลื่อนตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน คือข้อใด ก. ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ข. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ค. ยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่เพื่อเสริมสร้างความมั่นคง ของชาติ ง. แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560
ข้อ 29 คณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง มีตัวย่อในข้อใด ก. ป.ร.ย. ข. ป.ย.ป. ค. ป.ร.ส. ง. ป.ย.ส.
ข้อ 30 ประธานคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง คือข้อใด ก. ดร.วิษณุ เครืองาม ข. นายปรเมธี วิมลศิริ ค. พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ง. นายสุวิทย์ เมษินทรีย์
ข้อ 31 เลขาธิการคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง คือข้อใด ก. รองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย ข. เลขาธิการสภาพัฒน์ ค. นายกรัฐมนตรี ง. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
ข้อ 32 ข้อใด ไม่ใช่ หน้าที่ ของคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง ก. กำกับ ข. ติดตาม ค. ขับเคลื่อน ง. พัฒนา
ข้อ 33 รองนายกรัฐมนตรี ท่านใดที่ดูแลในเรื่อง “ยุทธศาสตร์ชาติ” ก. พลอากาศเอกประจิน จั่นตอง ข. พลเรือเอกณรงค์ พิพัฒนาศัย ค. พลเอกประวิตร วงษ์สุวรรรณ ง. ดร.วิษณุ เครืองาม
ข้อ 34 Kick off ดำเนินการพร้อมกัน ตำบลละ 1 หมู่บ้าน ของทีมขับเคลื่อนพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน คือวันที่เท่าใด ก. 1 มกราคม 2561 ข. 21 กุมภาพันธ์ 2561 ค. 12 เมษายน 2561 ง. 28 กรกฏาคม 2561
ข้อ 35 คณะกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ในระดับจังหวัด ท่านใดเป็นประธานกรรมการ ก. ผู้ว่าราชการจังหวัด ข. รองผู้ว่าราชการจังหวัดที่ผู้่ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย ค. ปลัดจังหวัด ง. พัฒนาการจังหวัด
ข้อ 36 คณะกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ในระดับกรุงเทพมหานคร ท่านใดเป็นประธานกรรมการ ก. ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ข. รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ค. ปลัดกรุงเทพมหานคร ง. ประธานสภากรุงเทพมหานคร
ข้อ 37 คณะกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ในระดับอำเภอ ท่านใดเป็นประธานกรรมการ ก. ปลัดอำเภอ ข. พัฒนาการอำเภอ ค. นายอำเภอ ง. นายกเทศมนตรี
ข้อ 38 คณะกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ในระดับชุมชน ท่านใดเป็นประธานกรรมการ ก. ผอ.เขต ข. ประธานสภากรุงเทพมหานคร ค. สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร ง. สมาชิกสภาเขตกรุงเทพมหานคร
ข้อ 39 จำนวนทีมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศไทย ตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ในระดับตำบล/ชุมชน คือข้อใด ก. 3 - 5 คน ข. 7 - 12 คน ค. 9 - 15 คน ง. 15 - 30 คน
ข้อ 40 ข้อใด ไม่ใช่ ทีมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศไทย ตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ในระดับตำบล/ชุมชน คือข้อใด ก. ข้าราชการ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ ข. ปราชญ์ชาวบ้าน ค. ประชาชนในพื้นที่ ง. จิตอาสาในพื้นที่
ข้อ 41 กรอบหลักในการดำเนินงาน “สัญญาประชาคมผูกใจไทยเป็นหนึ่ง” กระทรวงใดรับผิดชอบ ก. กระทรวงมหาดไทย ข. กระทรวงการคลัง ค. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ง. กระทรวงสาธารณสุข
ข้อ 42 กรอบหลักในการดำเนินงาน “คนไทยไม่ทิ้งกัน” กระทรวงใดรับผิดชอบ ก. กระทรวงมหาดไทย ข. กระทรวงการคลัง ค. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ง. กระทรวงสาธารณสุข
ข้อ 43 กรอบหลักในการดำเนินงาน “ชุมชนอยู่ดีมีสุข” กระทรวงใดรับผิดชอบ ก. กระทรวงมหาดไทย ข. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ค. กระทรวงการคลัง ง. ถูกเฉพาะข้อ ก.และ ข.
ข้อ 44 กรอบหลักในการดำเนินงาน “รู้เท่าทันเทคโนโลยี” กระทรวงใดรับผิดชอบ ก. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ข. กระทรวงมหาดไทย ค. กระทรวงการคลัง ง. กระทรวงศึกษาธิการ
ข้อ 45 ข้อใด ไม่ใช่ กรอบหลักในการดำเนินงานด้านเศรษฐกิจและสังคม ก. คนไทยไม่ท้ิงกัน ข. ชุมชนอยู่ดีมีสุข ค. วิถีไทยวิถีพอเพียง ง. รู้เท่าทันเทคโนโลยี