งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การขับเคลื่อนนโยบายประสานพลังประชารัฐ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การขับเคลื่อนนโยบายประสานพลังประชารัฐ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การขับเคลื่อนนโยบายประสานพลังประชารัฐ
นายทรงศักดิ์ พิมพ์เบ้า พัฒนาการอำเภอประโคนชัย 16 กุมภาพันธ์ 2560

2 แนวคิดการทำงาน การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ
1. หลักการและบทบาท 1) ลดความเหลื่อมล้ำ 2) พัฒนาคุณภาพคน 3) เพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันอย่างยั่งยืน 2. กรอบการทำงาน 1) ยึดความต้องการของประชาชนเป็นตัวตั้ง 2) สร้างความเชื่อมโยงความ ตองการที่แท้จริงผ่านกลไก ประชารัฐ 3) ทีมประชารัฐ พิจารณาความช่วยเหลือตามความพรอมและศักยภาพ ของพื้นที่ 4) พัฒนาและส่งเสริมให้เกิดความเข้มแข็งในชุมชนอย่างยั่งยืน

3 3. วิธีดำเนินงาน 1) ค้นหาความต้องการ ของหมู่บ้าน พร้อมทั้งจัดลำดับความสำคัญ 2) ทีมประชารัฐพิจารณา ความช่วยเหลือตามความพรอม และ ศักยภาพ ของพื้นที่ 4. เป้าหมายการทำงาน 1) มุ่งเน้นงานที่สามารถนำไปปฏิบัติไดจริง (Action Based) 2) พื้นที่ดำเนินการ : ครอบคลุมพื้นที่ 18 กลุ่ม จังหวัด 3) ระยะเวลาดำเนินงาน (ระยะสั้น 3 – 6 เดือน/ ระยะกลาง 1 – 1.5 ปี/ ระยะยาว 2 – 3 ปี) 4) สร้างความรับรูกับประชาชนอย่างต่อเนื่อง

4 ภารกิจโดยรวม 3 ภารกิจ 1. ลดความเหลื่อมล้ำ โดยการสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน และ ยึดความต้องการของชุมชนเป็นตัวตั้ง 2. พัฒนาคุณภาพคน โดยการสร้างองค์ความรู้ในระดับชุมชน ได้แก่ การส่งเสริมองค์ความรู้ และการ พัฒนาระบบบริหารจัดการ 3. การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน โดยการสร้าง - ขีดความสามารถในการแข่งขันอย่างยั่งยืน เพื่อให้มีช่องทาง (Platform) สำหรับกิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชน

5 กลไกการขับเคลื่อน คณะทำงานร่วม รัฐ-เอกชน-ประชาชน (ประชารัฐ) 12 คณะ (แม่น้ำ 12 สาย) ประกอบด้วย 1. กลุ่มงานขับเคลื่อน (Drive) D1. การยกระดับนวัตกรรมและผลิตภาพ D3. การส่งเสริม SMEs & Start-up D6. การส่งเสริมการท่องเที่ยวและ MICE D7. การส่งเสริมการส่งออกและการลงทุน ใน ต่างประเทศ D8. การพัฒนา cluster ภาคอุตสาหกรรมที่เป็น New S-Curve D10. การพัฒนาการเกษตรสมัยใหม่ D12. การสร้างรายได้และการกระตุ้น การใช้จ่ายของประเทศ

6 2. กลุ่มงานสนับสนุน (Enable)

7 โครงสร้างการดำเนินงาน
1. คณะกรรมการประสานและขับเคลื่อนนโยบายสานพลังประชารัฐส่วนกลาง ประกอบด้วย 1. พลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา รมว.มหาดไทย (หัวหน้าทีมภาครัฐ) 2. นายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ รมว.ประจำสำนักนายกรัฐมนตรี 3. พลเอกฉัตรชัย สาริกัลป์ยะ รมว.เกษตรและสหกรณ์ 4. พล.ต.อ.อดุลย์ แสงสิงแก้ว รมว.พัฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษย์ 5. ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รมว.พาณิชย์ 6. นายสมพล เกียรติไพบูลย์ ประธานที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี - ด้านเศรษฐกิจ 7. นายกฤษฏา บุญราช ปลัดกระทรวงมหาดไทย 8. นางเกศรา มัญชุศรี ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

8 (หัวหน้าทีมภาคเอกชน) 10. นายอิสระ ว่องกุศลกิจ – บจม.น้ำตาลมิตรผล
9. นายฐาปน สิริวัฒนภักดี  – บจม.ไทยเบฟเวอเรจ (หัวหน้าทีมภาคเอกชน) 10. นายอิสระ ว่องกุศลกิจ – บจม.น้ำตาลมิตรผล 11. นายวิชัย อัศรัสกร – บจก.เวิลด์เทรดดิ้ง 12. น.พ.พลเดช ปิ่นประทีป – สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา 13. น.พ.อำพล จินดาวัฒนะ – คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ 14. นายพลากร วงค์กองแก้ว – สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน 15. นายฤทธิ์ ธีระโกเมน – บจม.เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป 16. นายศุภชัย เจียรวนนท์ – บจม.เครือเจริญโภคภัณฑ์ 17. นายสรัญ รังคสิริ – บจม.ปตท.

9 18. นายยุทธนา เจียมตระการ – บจม.ปูนซิเมนต์ไทย
18. นายยุทธนา เจียมตระการ – บจม.ปูนซิเมนต์ไทย 19. นายธนารักษ์ พงษ์เภตรา – บจม.ทักษิณปาล์ม 21) นายวิสุทธิ วิทยฐานกรณ์ – บจก.น้ำมันพืชไทย 22) นายกฤษา บุญราช ปลัดกระทรวงมหาดไทย เป็นเลขานุการ 23) นายอภิชาต โตดิลกเวช อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน เป็นผู้ช่วยเลขานุการ

10 2. คณะกรรมการประสานและขับเคลื่อนนโยบายสานพลังประชารัฐ
ประจำจังหวัด (คสป.) ประกอบด้วย 1. ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธาน 2. รองผู้ว่าราชการจังหวัด ที่ไดรับมอบหมาย เป็นรองประธาน 3. คณะทำงานภาครัฐ ประกอบด้วย 3.1 อัยการจังหวัด 3.2 ปลัดจังหวัด 3.3 ผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาในจังหวัด 3.4 พาณิชย์จังหวัด 3.5 ทองเที่ยวและกีฬาจังหวัด 3.6 อุตสาหกรรมจังหวัด 3.7 เกษตรและสหกรณ์จังหวัด

11 4. คณะทำงานภาคเอกชน ประกอบด้วย 4.1 ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัด
3.8 คลังจังหวัด 3.9 ศึกษาธิการจังหวัด 3.10 ปลัดจังหวัด 3.11 อัยการจังหวัด 3.12 นายอำเภอทุกอำเภอ 4. คณะทำงานภาคเอกชน ประกอบด้วย 4.1 ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัด 4.2 ประธานหอการค้าจังหวัด 4.3 นายกสมาคมส่งเสริมธุรกิจการทองเที่ยวจังหวัด 4.4 ประธานชมรมธนาคารจังหวัด 4.5 ผู้ทรงคุณวุฒิภาคเอกชน

12 5. คณะทำงานภาคประชาชน ประกอบด้วย
5. คณะทำงานภาคประชาชน ประกอบด้วย 5.1 ที่ปรึกษาผู้ตรวจราชการภาคประชาชน 5.2 ผู้แทนภาคประชาสังคม 5.3 ภาคประชาชน ไมเกิน 4 คน 6. หัวหนาสำนักงานจังหวัด/พัฒนาการจังหวัด เป็นเลขานุการ

13 บทบาทหน้าที่ของ คสป. 1. รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ศักยภาพของพื้นที่ เพื่อใช้ประโยชน์ในการ ขับเคลื่อนงาน 2. กำหนดแนวทางปฏิบัติและแผนดำเนินงานในพื้นที่ 3. ประสานการปฏิบัติงานและบูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชนในจังหวัด 4. ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับการดำเนินงานการขับเคลื่อน นโยบายสานพลังประชารัฐ 5. รายงานผลการดำเนินงาน ปัญหาและอุปสรรคให้รัฐบาลทราบ โดยผ่านทาง กระทรวงมหาดไทย 6. แต่งตั้งที่ปรึกษาและคณะทำงานเพื่อปฏิบัติงานตามที่ คสป.มอบหมาย 7. ปฏิบัติงานด้านอื่นๆ ตามที่กระทรวงมหาดไทย นายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรี มอบหมาย

14 กิจกรรมการขับเคลื่อน การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ
1. กิจกรรมด้านการเกษตร ได้แก่ การส่งเสริมรายได้จากการเกษตรกรรม 2. กิจกรรมด้านการแปรรูป ได้แก่ การแปรรูปสู่หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) 3. กิจกรรรมด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชน ได้แก่ โฮมสเตย์ หมู่บ้านวัฒนธรรม หมู่บ้านรักษาประเพณีโบราญ แหล่งท่องเที่ยว หมู่บ้าน OTOP เป็นต้น

15 ปี 2559 ประกอบด้วยกิจกรรมและเจ้าภาพหลักดังนี้
กิจกรรมการขับเคลื่อน การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ จังหวัดบุรีรัมย์ ปี ประกอบด้วยกิจกรรมและเจ้าภาพหลักดังนี้ ประเภทกิจกรรม กิจกรรม สถานที่ดำเนินการ เจ้าภาพหลัก 1. การเกษตร - ข้าวภูเขาไฟ - หมู่ที่7,9 ตำบลจรเข้มาก อำเภอประโคนชัย - เกษตรและสหกรณ์ 2. การแปรรูป - ผ้าภูอัคนี - หมู่ที่ 12 ตำบลเจริญสุข อำเภอเฉลิมพระเกียรติ - พัฒนาชุมชน 3. การท่องเที่ยว โดยชุมชน - หมู่บ้านท่องเที่ยว เชิงวัฒนธรรม - บ้านสนวนนอก ตำบลสนวน อำเภอห้วยราช - การท่องเที่ยว และกีฬา

16 ปี 2560 ดำเนินการเต็มพื้นที่เป็นรายอำเภอ(อำเภอประโคนชัย)
ปี ดำเนินการเต็มพื้นที่เป็นรายอำเภอ(อำเภอประโคนชัย) ประกอบด้วยกิจกรรมและเจ้าภาพหลักดังนี้ ประเภทกิจกรรม กิจกรรม สถานที่ดำเนินการ เจ้าภาพหลัก 1. การเกษตร 1. ข้าวภูเขาไฟ - หมู่ที่ 9 ตำบลจรเข้มาก - เกษตรและสหกรณ์ 2. ข้าวดินภูเขาไฟ - หมู่ที่ 6 ตำบลจรเข้มาก 3. ข้าวฮางภูเขาไฟ - หมู่ที่ 7 ตำบลจรเข้มาก 2. การแปรรูป 1. ผ้าไหม/ผ้าด้าย - หมู่ที่ 9 ตำบลจรเข้มาก - พัฒนาชุมชน 2. ผ้าไหม/ผ้าด้าย - หมู่ที่ 15 ตำบลจรเข้มาก 3. ผ้าไหม/ผ้าด้าย - หมู่ที่ 7 ตำบลละเวี้ย 4. ผ้าไหม/ผ้าด้าย - หมู่ที่ 13 ตำบลละเวี้ย 3. การท่องเที่ยว โดยชุมชน - หมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP บ้านโคกเมือง หมู่ที่ 6 ,9, 15,18 ตำบลจรเข้มาก - การท่องเที่ยว และกีฬา

17 แนวทางการดำเนินงานในปี 2560 (ของจังหวัดบุรีรัมย์)
1. ให้ทุกอำเภอเสนอกลุ่มเป้าหมายในแต่ละประเภทกิจกรรม ประเภทละ 1 – 2 กิจกรรม ถึงจังหวัดบุรีรัมย์ พร้อมข้อมูลฯ (ภายใน 17 ก.พ. 2560) 2. คณะกรรมการประสานและขับเคลื่อนนโยบายสานพลังประชารัฐ ประจำ- จังหวัด(คสป.) จังหวัดบุรีรัมย์ จะประชุมในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 เพื่อคัดเลือกให้เหลือประเภทละ 10 กิจกรรม(รวม 3 ประเภทๆละ 10 กิจกรรม) 3. คสป.บุรีรัมย์ จะนำข้อมูลกิจกรรมที่ได้รับคัดเลือก เสนอเพื่อขอรับการ สนับสนุนงบประมาณจากคณะกรรมการประสานและขับเคลื่อนนโยบาย สานพลังประชารัฐส่วนกลางต่อไป

18 ประเด็นการหารือเพื่อนำข้อมูลเสนอ คสป. บุรีรัมย์
1. การให้ความเห็นชอบกับกิจกรรมและพื้นที่ดำเนินการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (ที่มาประชุมวันนี้) ความเห็นในการประชุม 2. การจัดทำข้อมูลของกลุ่ม/กิจกรรมและความต้องการให้ คสป. สนับสนุน

19 ขอขอบครับ


ดาวน์โหลด ppt การขับเคลื่อนนโยบายประสานพลังประชารัฐ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google