งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กลุ่มที่ 5: การแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงานอย่างเป็นระบบ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กลุ่มที่ 5: การแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงานอย่างเป็นระบบ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กลุ่มที่ 5: การแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงานอย่างเป็นระบบ
สมาชิกกลุ่ม นายสุเมธ มโหสถ ผู้ทรงคุณวุฒิประจำกระทรวงแรงงาน ประธาน นางเพชรรัตน์ สินอวย รองปลัดกระทรวงแรงงาน รองประธาน นายศักดิ์สกล จินดาสวัสดิ์ รักษาการที่ปรึกษาวิชาการแรงงาน รองประธาน นายธวัช เบญจาทิกุล รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน เลขานุการ (ผู้นำเสนอ) นางสาวอำพันธ์ ธุววิทย์ รองเลขาธิการสำนักงานประกันสังคม ผู้ช่วยเลขานุการ นางนภสร ทุ่งสุกใส ผู้อำนวยการกองยุทธศาสตร์และแผนงาน ผู้ช่วยเลขานุการ เจ้าหน้าที่ประจำกลุ่ม นางศิริลักษณ์ ฉกะนันท์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์ นายนคร วังพิมูล เจ้าหน้าที่กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์

2 การแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงานอย่างเป็นระบบ
เป้าหมาย ,000 คน การแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงานอย่างเป็นระบบ สถานการณ์การขาดแคลนแรงงาน ปี 2561 ปัญหา/อุปสรรค แนวทางแก้ไขปัญหา จำนวนกำลังแรงงาน 38.3 ล้านคน ว่างงาน 4 แสนคน (1.0 %) ขาดแคลน 2.5 แสนคน (ทั่วไป 2 แสนคน ประมง 5 หมื่นคน) การเข้าสู่สังคมโลกยุค 4.0 Digital Economy ซึ่งถือเป็นการปฏิวัติอุตสาหกรรม ครั้งที่ 4 นโยบายของรัฐบาลที่สร้างความเจริญทางสังคม เศรษฐกิจ และความมั่นคงในยุคดิจิทัล (เขตเศรษฐกิจพิเศษ/หรือ EEC หรือการสร้างโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) ประเทศไทยไม่มีแผนบูรณาการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงาน ในรูปแบบประชารัฐ การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ ในปี พ.ศ (20%) (14 ล้าน) ความไม่สอดคล้องระหว่างอุปสงค์และอุปทานแรงงาน ระบบการศึกษาที่ผลิตบุคลากรไม่ตรงความต้องการของตลาดแรงงาน รวมทั้งค่านิยมในการเรียนสายสามัญมากกว่าสายอาชีพ คนไทยไม่นิยมทำงานที่หนัก (Difficult) ที่สกปรก (Dirty) และที่เสี่ยงอันตราย (Dangerous) (3D) การลงทุนด้านวิจัยและพัฒนา (R&D)รวมทั้งนวัตกรรมของผู้ประกอบการยังมีน้อย ปรับปรุงแผนยุทธศาสตร์การขาดแคลนแรงงานของกระทรวง (ปี 60 – 64) ให้เป็นภาพใหญ่ของประเทศ ขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ การติดตามและประเมินผล ตามแผนยุทธศาสตร์ เพื่อพัฒนาการดำเนินงานให้ก้าวทันความเปลี่ยนแปลงของโลคยุดดิจิทัล วิเคราะห์และทบทวน แผนยุทธศาสตร์ (6 ด้าน) 1. ผลิตแรงงานตามความต้องการของตลาดแรงงาน 2. ยกระดับฝีมือแรงงานสู่มาตรฐานสากล 3. พัฒนาระบบกลไกบริหารตลาดแรงงาน 4. ส่งเสริมและสนับสนุนการจ้างงานกลุ่มแรงงานเฉพาะ 5. พัฒนาและเชื่อมโยงระบบสารสนเทศกับหน่วยงานภาครัฐและภาคีเครือข่าย 6. การแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงานในพื้นที่ EEC และเขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อรองรับ 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉ.12 นโยบายของรัฐบาล แผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 20 ปี แผนแม่บทด้านแรงงาน นโยบาย 3A ได้แก่ Agenda Area Admisatation 11:4:6 ของ รมว.รง. 1. การปรับปรุงแผนยุทธศาสตร์การแก้ไขและป้องกันการขาดแคลนแรงงาน พ.ศ ปัจจัยการบริหาร 4M SWOT สภาพปัญหา ปัจจัยภายนอก ปัญหา/อุปสรรค/โอกาส แผนปฏิบัติการ ระยะสั้น 1 ปี ระยะกลาง 1-3 ปี ระยะยาว 3-5 ปี TOWS Matrix คณะกรรมการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงานระดับชาติ (มติ ครม. 26 เม.ย. 54 รมว. เป็น ปธ.) ทบทวนแผนยุทธศาสตร์ฯ 60-64 แต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ (ในรูปแบบประชารัฐ) ขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ ติดตามประเมินผล แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ/คณะทำงานฯ ระดับชาติ – นายก/รองนายก เป็น ปธ. ระดับกระทรวง – รมว./ปลัด เป็น ปธ. ระดับกรม – อธิบดี เป็น ปธ. ระดับจังหวัด – แรงงาน จว. เป็น ปธ. โดยมี 4 หน่วยงาน รง. และหน่วยงานข้างเคียง อาทิ อก. พณ. พม. มท. ฯลฯ โดยมี สจจ. เป็นเลขา 1. เสนอเป็นวาระแห่งชาติ ประชุม เสนอ ครม. 2. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 2. ปรับปรุงคำสั่งคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงาน 3. การติดตาม ประเมินผล และรายงานผล ผู้ตรวจสำนักนายก/ผต.กระทรวง/ผต.กรม เป็นผู้ติดตามผลเป็นรายไตรมาส แต่งตั้ง คณะอนุกรรมการติดตามและประเมินผล โครงการแก้ไขปัญหาผลกระทบจากเทคโนโลยีเปลี่ยนโลก (Disruptive Technology) โครงการส่งเสริมการมีงานทำให้กับกลุ่มแรงงานเฉพาะ (นักเรียนนักศึกษา, ผู้สูงอายุ, คนพิการ, ทหารปลดประจำการ, ผู้พ้นโทษ, และบุคคลที่ไม่มีสัญชาติไทย) โครงการรักถิ่นกำเนิด นำแรงงานที่ทำงานต่างประเทศกลับมาทำงานในประเทศไทย Flag Ship


ดาวน์โหลด ppt กลุ่มที่ 5: การแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงานอย่างเป็นระบบ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google