คลินิกบริการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDS โรงพยาบาลเขาสมิง จังหวัดตราด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ผลการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคเอดส์
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยวัณโรค โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ป่วยเป็นวัณโรค
ชื่อโรงพยาบาล ขนาด... เตียง จังหวัด ชื่อผู้ติดต่อ กลุ่มงาน โทรศัพท์ อีเมล์
ยุทธศาสตร์ที่ 2 แผนที่ 14 อายุรกรรม. จำนวนผู้ป่วยที่เสียชีวิตด้วย SEPSIS ( ร้อยละ )
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
ผลงาน : เพิ่มประสิทธิภาพในการ รักษา ด้วย... การเสริมพลังอำนาจในกลุ่มผู้ ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ โรงพยาบาลอากาศอำนวย อำเภออากาศอำนวย จังหวัด สกลนคร.
แผนงานยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขด้านพัฒนาสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข สถานการณ์ปัญหา : ด้าน โครงสร้างประชากร ปัจจุบันประเทศไทย : ( ข้อมูล ณ.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาระบบบริการผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วีและผู้ป่วยเอดส์
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
ระดับความเสี่ยง (QQR)
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
การดำเนินงานกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ จังหวัดเชียงใหม่
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของเอชไอวี ในประเทศไทย
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
ความสำเร็จของโครงการจัดการเชิงรุกรายบุคคลเพื่อเริ่มยาต้านไวรัส
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
องค์กรต้นสังกัด: โรงพยาบาล ระแงะ จังหวัด นราธิวาส
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยรับยาต้านไวรัสเอดส์
การดำเนินงานเชิงรุก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การพัฒนาคุณภาพการดูแลโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เป็นวัณโรคแบบบูรณาการ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คลินิกบริการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDS โรงพยาบาลเขาสมิง จังหวัดตราด กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลเขาสมิง จังหวัดตราด

คำสำคัญ : Quality of life (Physical Domain ,Psychological Domain ,Social Relationships ,Environment) : เครื่องมือวัดคุณภาพชีวิต WHOQOL-BREF-THAI

ภาพรวม ปัญหา บริบท ที่มีของปัญหา โรคเอดส์ หรือ กลุ่มอาการภูมิคุ้มกันบกพร่องเป็นโรคของระบบภูมิคุ้มกันของมนุษย์ ซึ่งเกิดจากการติดเชื้อไวรัสHIV ทำให้ผู้ป่วยมีการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันบกพร่องเสี่ยงต่อการติดเชื้อฉวยโอกาสและการเกิดเนื้องอกบางชนิด ปัจจุบันยังไม่มียาชนิดใดได้รับการยืนยันโดยมีหลักฐานทางวิชาการรับรองว่า สามารถรักษาโรคเอดส์ให้หายขาด ดังนั้นผู้ป่วยกลุ่มนี้จึงถูกตีตราทางสังคม กลายเป็นตราบาปของตนเอง ซึ่งบางครั้งการที่ผู้ป่วยติดเชื้อโรคนี้อาจเป็นไปโดยที่ผู้ป่วยไม่ได้ทำอะไรผิด เช่น การที่ภรรยาติดเชื้อจากสามีที่ไปเที่ยว ดังนั้นเพื่อเป็นการกอบกู้ศักดิ์ศรีแห่งความเป็นมนุษย์ และลดการตีราจากสังคม คลินิกบริการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDS โรงพยาบาลเขาสมิงจึงจัดทำโครงการพัฒนาระบบการบริการคลินิกบริการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDSขึ้น เพื่อให้ผู้ป่วยมีสุขภาพดี สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติและมีคุณภาพชีวิตที่ดี ประเด็นการพัฒนา คือ การเข้าถึงบริการของผู้ป่วย ความครอบคลุมในการดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัส ความปลอดภัยจากการใช้ยา ต้านไวรัสและยารักษาโรคร่วมอื่นๆ รวมถึงการเฝ้าระวังเชื้อดื้อยา

เป้าหมาย แนวทางพัฒนา ดำเนินกิจกรรม PWP ซึ่งมี 6 กลยุทธ์ ได้แก่ เพื่อให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับดี หรือมีคุณภาพชีวิตเพิ่มขึ้น ในอนาคต ไม่มีโรคติดเชื้อฉวยโอกาสใหม่ CD4 เมื่อแรกเข้ารับบริการ≥ 200 VL undetecable แนวทางพัฒนา ดำเนินกิจกรรม PWP ซึ่งมี 6 กลยุทธ์ ได้แก่ 1. การลดความเสี่ยงด้านพฤติกรรม 2. การคัดกรองและดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 3. การส่งเสริมการเปิดเผยผลเลือดแก่คู่เพศสัมพันธ์ 4. การส่งเสริมการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีของคู่เพศสัมพันธ์ 5. การรับประทานยาต้านไวรัสอย่างต่อเนื่อง(มีแบบประเมินadherence ทวนสอบโดยเภสัชกรทุกครั้ง) 6. การวางแผนครอบครัว

โดยร่วมกับแกนนำจิตอาสา ให้ความรู้ผู้ป่วย ณ คลินิกบริการทุกครั้ง โดยร่วมกับแกนนำจิตอาสา ให้ความรู้ผู้ป่วย ณ คลินิกบริการทุกครั้ง

การเยี่ยมบ้าน เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง และมีแรงบันดาลใจที่จะรักษาตนเอง

การทำนวัตกรรมด้านยา เพื่อให้ผู้ป่วยมีความร่วมมือ ในการรับประทานยาอย่างต่อเนื่อง

โปรแกรมคำนวณ Creatinine Clearance ในระบบHos xp เพื่อปรับขนาดยาตามการทำงานของไต มีการอบรม เรื่องการรับประทานอาหารสำหรับผู้ป่วยไตบกพร่องระยะต่างๆ แผ่นพับแนะนำอาหารที่ควรรับประทาน แก่ผู้ป่วย

การเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา ทั้งเชิงรุก(intensive ADR monitoring) และเชิงรับ (spontaneous ADR monitoring)

Improvement Highlight จากการสัมภาษณ์ผู้ป่วย จำนวน 185 ราย พบว่า องค์ประกอบ ระดับคุณภาพชีวิตที่ประเมินได้ ดี ปานกลาง ไม่ดี 1. ทางกาย 85 15 2. ทางใจ 47.62 52.38 3. ทางสังคม 31.82 63.64 4.55 4. ทางสิ่งแวดล้อม 28 56 16 ต่อประกอบด้วยรูปสไลด์ถัดไป ที่มา ;รายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา รพ.เขาสมิง จ.ตราด

ผลลัพธ์ 1. การเข้าถึงการรับบริการของผู้ป่วย จำนวนผู้รับบริการปรึกษาและได้รับการตรวจหาการติดเชื้อHIV จำแนกรายปี ที่มา ;รายงานผลการดำเนินงาน ด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อHIV/ผู้ป่วยเอดส์ (ข้อมูลNAP)

ตัวชี้วัด :CD4 และ Viral load ที่มา ;รายงานผลการดำเนินงาน ด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อHIV/ผู้ป่วยเอดส์ (ข้อมูลNAP)

2. ความครอบคลุมในการดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัส ตัวชี้วัด :การขาดการติดตามการรักษา ตัวชี้วัด :อัตราการเสียชีวิต ที่มา ;รายงานผลการดำเนินงาน ด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อHIV/ผู้ป่วยเอดส์ (ข้อมูลNAP)

3. ความปลอดภัยจากการใช้ยาต้านไวรัส และยารักษาโรคร่วมอื่นๆ กราฟแสดงอุบัติการณ์การเกิดอาการไม่พึงประสงค์ต่อการใช้ยา (ADR) แยกตามลักษณะอาการทางคลินิก ปี 2558 ที่มา ;รายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา รพ.เขาสมิง จ.ตราด

กราฟแสดงอุบัติการณ์การเกิดอาการไม่พึงประสงค์ต่อการใช้ยา (ADR) แยกตามรายการยา ปี 2558 ที่มา ;รายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา รพ.เขาสมิง จ.ตราด

4. การเฝ้าระวังเชื้อดื้อยา ตัวชี้วัด :การส่งเสริมสุขภาพในผู้ติดเชื้อHIV/AIDS ตัวชี้วัด :การคัดกรองโรคร่วมในผู้ติดเชื้อHIV/AIDS ที่มา ;รายงานผลการดำเนินงาน ด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อHIV/ผู้ป่วยเอดส์ (ข้อมูลNAP)

การติดต่อกับทีมงาน 1. นางจิรสุดา ขอสูงเนิน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โทร 091-8176915 Email : anmen14@gmail.com 2. น.ส.สมาพร ยุทธวิชัย พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โทร 081-5765147 3. นางพัทธนันท์ ดิษยนันทการต์ เภสัชกรชำนาญการ โทร 080-4594345 Email :naritditsaya@hotmail.com โรงพยาบาลเขาสมิง ตำบลแสนตุ้ง อำเภอเขาสมิง จังหวัดตราด 23150 โทรศัพท์ 039-696414 ต่อ 103