งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ ตุลาคม ธันวาคม 2560 การประชุม คปสจ.ประจำเดือน ธันวาคม 2560 กลุ่มงาน NCD 29 ธค 2560

2 สถานการณ์โรคไม่ติดต่อ(DM HT) ปี 2560
Prevention & Promotion Excellence /Service Excellence  ปี 2561 เป้าหมาย ปี 2561 สถานการณ์โรคไม่ติดต่อ(DM HT) ปี 2560 1. NCD Clinic Plus ปฐมภูมิเปิดบริการครบทุกแห่ง (ที่มีNP) 2. Coverage HbA1c ≥ 80% Control DM 40% 3. Coverage HT=90% Control 50% 4. ตรวจไต และประเมิน CVD Risk 90% ตรวจภาวะแทรกซ้อน ตา 60%, เท้า 70 % 1. เร่งรัดคัดกรอง DM/ HT ผ่าน 90 % ในไตรมาส 1 2.เร่งรัดการตรวจ HbA1c , CKD, CVD, ตา, เท้า แล้วเสร็จไตรมาส 2 3.พัฒนาคลินิก NCD คุณภาพใน รพสต.เพิ่มครอบคลุม ทุกแห่งบูรณาการงาน ร่วมกับ รพ.สต ติดดาวในการประเมิน 4.กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตควบคุมแบบต่อเนื่องโดย HBPM การดำเนินงาน 1.คัดกรอง DM HT 90 % 2.Coverage HbA1c ≥ 40% Control DM ≥ 40% 3.Coverage HT ≥ 40% Control HT ≥ 40% 4.ตรวจภาวะแทรกซ้อน ตา เท้า 40% ตรวจไต, ประเมิน CVD Risk 60% Quick Win 3 เดือน สรุปประเด็นปัญหา 1.ความชุกจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานโรคความดันมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 2.การเข้าถึงบริการ NCD Clinic มีความแออัดใน รพ.ทุติยภูมิและ ตติยภูมิ 3.การควบคุม DM HT ไม่ได้ตามเป้าหมาย 4.คัดกรองภาวะแทรกซ้อนและ CKD เท้า ตา ไม่ได้ตามเกณฑ์ 5. การเข้าถึงบริการของผู้ป่วยDM/HT ในพื้นที่รับผิดชอบ ไม่ได้ตามเป้าหมาย

3 กราฟที่ 1. ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ได้รับการตรวจ HbA1c และควบคุมได้ดี
เปรียบเทียบ เดือนธันวาคม 59 – พฤษภาคม 60 แหล่งข้อมูล hdcservice.moph.go.th กระทรวงสาธารณสุข ประมวลผล วันที่ 27 ธันวาคม 2560

4 กราฟที่ 1. ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจ HbA1c
เปรียบเทียบ เดือนธันวาคม 59 – พฤษภาคม 60 แหล่งข้อมูล hdcservice.moph.go.th กระทรวงสาธารณสุข ประมวลผล วันที่ 27 ธันวาคม 2560

5 กราฟที่ 1. ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี
เปรียบเทียบ เดือนธันวาคม 59 – พฤษภาคม 60 แหล่งข้อมูล hdcservice.moph.go.th กระทรวงสาธารณสุข ประมวลผล วันที่ 27 ธันวาคม 2560

6 กราฟที่ 1. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจความดันซ้ำ 2 ครั้ง ภายในปีเดี่ยวกัน
และควบคุมได้ดี เป็นผลงานจังหวัดราชบุรี เปรียบเทียบ เดือนธันวาคม 59 – พฤษภาคม 60 แหล่งข้อมูล hdcservice.moph.go.th กระทรวงสาธารณสุข ประมวลผล วันที่ 27 ธันวาคม 2560

7 เปรียบเทียบ เดือนธันวาคม 59 – พฤษภาคม 60
กราฟที่ 1. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจความดันซ้ำ 2 ครั้ง ภายในปีเดียวกัน เปรียบเทียบ เดือนธันวาคม 59 – พฤษภาคม 60 แหล่งข้อมูล hdcservice.moph.go.th กระทรวงสาธารณสุข ประมวลผล วันที่ 3 ธันวาคม 2560

8 เปรียบเทียบ เดือนธันวาคม 59 – พฤษภาคม 60
กราฟที่ 1. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจความดันซ้ำ 2 ครั้ง ภายในปีเดี่ยวกัน และควบคุมได้ดี เปรียบเทียบ เดือนธันวาคม 59 – พฤษภาคม 60 แหล่งข้อมูล hdcservice.moph.go.th กระทรวงสาธารณสุข ประมวลผล วันที่ 27 ธันวาคม 2560

9 กราฟที่ 1.3 ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจ HbA1c และการควบคุมความดันได้ดี ในระดับประเทศ เขต และรายจังหวัดพบว่า ผู้ป่วยโรคเบาหวานจังหวัดกาญจนบุรีได้รับการตรวจ HbA1c ร้อยละ และผลการควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ร้อยละ ซึ่งสูงมากกว่า ภาพประเทศและเขตสุขภาพที่ 5 ใน 8 จังหวัด ส่วนราชบุรีผลงานอยู่ระดับที่ 4 เมื่อเปรียบเทียบ ภายในเขตสุขภาพที่ 5 คือ ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจ HbA1c ร้อยละ และควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ร้อยละ ดังภาพ ด้านล่าง แหล่งข้อมูล hdcservice.moph.go.th กระทรวงสาธารณสุข ประมวลผล วันที่ 27 ธันวาคม 2560

10 กราฟที่ 1.4 ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจ HbA1c และการควบคุมความดันได้ดี ในระดับประเทศ เขต จังหวัดและรายอำเภอ พบว่า ผู้ป่วยโรคเบาหวาน อ.สวนผึ้ง ได้รับการตรวจ HbA1c ร้อยละ 48.9 และผลการควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ร้อยละ 25.4 และ อ.วัดเพลง ตรวจ HbA1c ร้อยละ 42.5 คุมระดับน้ำตาลได้ดี ร้อยละ 25.4 ซึ่งผ่านผลงานตามนโยบายในไตรมาส 1 ผลการตรวจ HbA1c > 40 % ขึ้นไป ซึ่งผลงานการควบคุม ระดับน้ำตาลสูงมากกว่า ภาพประเทศ เขตสุขภาพที่ 5 และ จังหวัด ดังภาพด้านล่าง แหล่งข้อมูล hdcservice.moph.go.th กระทรวงสาธารณสุข ประมวลผล วันที่ 27 ธันวาคม 2560

11 กราฟที่ 1.5 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตที่ได้รับการตรวจความดันซ้ำ 2 ครั้งในปีและควบคุมระดับความดันได้ดี เป้าหมาย 50 % ในระดับประเทศ เขต และรายจังหวัดพบว่า ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตจังหวัดนครปฐมได้รับการตรวจวัดความดันซ้ำอย่างน้อย 2 ครั้งในปี ร้อยละ 26.5 และผลการควบคุมระดับความดันได้ดี ร้อยละ 14.6 ซึ่งสูงมากกว่า ภาพประเทศและเขตสุขภาพที่ 5 ใน 8 จังหวัด ส่วนราชบุรีผลงานอยู่ระดับที่ 5 เมื่อเปรียบเทียบ ภายในเขตสุขภาพที่ 5 คือ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตได้รับการตรวจ วัดความดันซ้ำ อย่างน้อย 2 ครั้งในปี ร้อยละ และควบคุมระดับความดันได้ดี ร้อยละ 7 ดังภาพด้านล่าง แหล่งข้อมูล hdcservice.moph.go.th กระทรวงสาธารณสุข ประมวลผล วันที่ 27 ธันวาคม 2560

12 เขตสุขภาพที่ 5 และจังหวัด ดังภาพด้านล่าง
กราฟที่ 1.6 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตที่ได้รับการตรวจความดันซ้ำ 2 ครั้งในปีและควบคุมระดับความดันได้ดี เป้าหมาย 50 % ในระดับประเทศ เขต จังหวัดและรายอำเภอ พบว่า ผู้ป่วยโรคความดันโลหิต อ.ปากท่อได้รับการตรวจวัดความดันซ้ำอย่างน้อย 2 ครั้งในปี ร้อยละ 28.6 และผลการควบคุมระดับความดันได้ดี ร้อยละ 21.1 ซึ่งสูงมากกว่าภาพประเทศ เขตสุขภาพที่ 5 และจังหวัด ดังภาพด้านล่าง แหล่งข้อมูล hdcservice.moph.go.th กระทรวงสาธารณสุข ประมวลผล วันที่ 27 ธันวาคม 2560


ดาวน์โหลด ppt สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google