งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ

2 อุบัติการณ์/ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่กินยาต้าน
ยาที่มีผลต่อตับ การรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอชไอวีสูตรที่มี ประสิทธิภาพสูง (HAART) ปัจจัยเสี่ยง คำสำคัญ ค่าปกติสูงสุด การเกิดพิษต่อตับจากการใช้ยาต้านเอชไอวี อุบัติการณ์การเกิดพิษต่อตับที่เกิดในระยะยาว อุบัติการณ์การเกิดพิษต่อตับ อุบัติการณ์การเกิดพิษต่อตับที่เกิดในระยะสั้น

3 อุบัติการณ์/ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่กินยาต้าน
สรุปผลงานโดยย่อ การศึกษานี้จะเป็นประโยชน์และสามารถใช้เป็นแนวทางในการเลือกใช้ การปรับเปลี่ยนสูตรยาต้านไวรัสพร้อมทั้งวางแผนการรักษาได้ และ เพื่อเป็นข้อมูลในการดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวีโดยเฉพาะกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดพิษต่อตับ ดังนั้นการติดตามการทำงานของตับเป็นประจำยังมีความจำเป็น แม้ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์นั้นจะได้รับยาต้านไวรัสสูตรที่มีประสิทธิภาพสูงเป็นระยะเวลานาน ผลการศึกษา พบว่า เมื่อพิจารณาตามระยะเวลาที่เกิดพิษต่อตับ พบอุบัติการณ์การเกิดพิษต่อตับระยะสั้น และระยะยาวหลังเริ่มรับยา คือ และ 3.3 ต่อ 100 คน-ปี ตามลำดับ เมื่อพิจารณาตามสูตรยาที่ได้รับ พบว่าอุบัติการณ์การเกิดพิษต่อตับค่อนข้างสูงในผู้ป่วยที่ได้รับยากลุ่ม NNRTI (11.8 ต่อ 100 คน-ปี และเกิดในระดับที่รุนแรง 1.9 คน 100 คน-ปี) สูงกว่าผู้ติดเชื้อที่ได้รับยากลุ่ม PIs ในส่วนของปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับระหว่างที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวีสูตรที่มีประสิทธิภาพสูง ได้แก่ เพศชาย , การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีร่วม , การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีร่วม และการได้รับยาต้านไวรัสสูตร HAART ที่มียา NVP และยา EFV เป็นส่วนประกอบ Company Logo

4 อุบัติการณ์/ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่กินยาต้าน
องค์กรต้นสังกัด : กลุ่มงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี e สมาชิกทีม : ภญ.นิจวรรณ ชื่นไมตรี ตำแหน่งเภสัชกรชำนาญการ วุฒิการศึกษา : ปริญญาเภสัชศาสตตร์บัณฑิตมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี : ประกาศนียบัตรอบรมระยะสั้นบริบาลในผู้ป่วยติดเชื้อ HIV และเอดส์ Company Logo

5 อุบัติการณ์/ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่กินยาต้าน
ที่มาและความสำคัญ

6 อุบัติการณ์/ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่กินยาต้าน
วัตถุประสงค์/เป้าหมาย เพื่อศึกษาอุบัติการณ์การเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่รับยาต้านไวรัสเอชไอวีสูตรที่มีประสิทธิภาพสูงทั้งในระยะสั้นและระยะยาว เพื่อศึกษาปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อ การเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่รับยาต้านไวรัสเอชไอวีสูตรที่มีประสิทธิภาพสูง

7 อุบัติการณ์/ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่กินยาต้าน
การเกิดพิษต่อตับในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสสูตร HAART กรอบแนวคิดการวิจัย เพศ ,ใช้ยากลุ่ม NNRTIยาที่มีพิษต่อตับ จำนวน CD4ก่อน เริ่มยา HAART Hepatitis status,ประวัติการได้รับยาต้าน อายุ, ระดับ ALT ก่อนเริ่มยาHAART ตัวแปรเชิงกลุ่ม (category variable) ตัวแปรต่อเนื่อง (continuous variable)

8 อุบัติการณ์/ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่กินยาต้าน
คำถามการวิจัย ความแตกต่างของอุบัติการณ์การเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่รับยาต้านไวรัสเอชไอวีสูตรที่มีประสิทธิภาพสูงทั้งในระยะสั้นและระยะยาวเป็นอย่างไร ปัจจัยเสี่ยงใดบ้างที่มีผลต่อ การเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่รับยาต้านไวรัสเอชไอวีสูตรที่มีประสิทธิภาพสูง

9 อุบัติการณ์/ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่กินยาต้าน
เครื่องมือที่ใช้ การวิเคราะห์ข้อมูล ประชากร/การเก็บข้อมูล ผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาสูตรที่มีประสิทธิภาพสูง อายุตั้งแต่ 20 ปี จำนวน 842 คน เดือนตุลาคม 2557 ถึง เดือนมีนาคม 2558 (6เดือน) แบบบันทึกข้อมูลของผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาสูตรที่มีประสิทธิภาพสูง จากเวชระเบียน ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย : สถิติเชิงพรรณนา อัตราอุบัติการณ์ : incident rate ( t test/man whitney U test/chi square test) ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับ : cox proportional hazard model ระเบียบวิธีการวิจัย

10 อุบัติการณ์/ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่กินยาต้าน
กิจกรรมการพัฒนา แบบบันทึกข้อมูลผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านสูตรที่มีประสิทธิภาพสูงศึกษาปัจจัย ได้แก่ เพศ อายุ โรคประจำตัว ประวัติทางสังคม สูตรยาต้านที่ได้รับ การติดตามผลการรักษา ข้อมูลการใช้ยาต้านระยะสั้น/ระยะยาว ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ และการเกิดอาการที่ไม่พึงประสงค์ แบบสอบถาม Company Logo

11 อุบัติการณ์/ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่กินยาต้าน
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

12 อุบัติการณ์/ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่กินยาต้าน
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล *ทดสอบด้วย chi-square,t test p-value<0.05

13 อุบัติการณ์/ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่กินยาต้าน
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

14 อุบัติการณ์/ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่กินยาต้าน
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

15 อุบัติการณ์/ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่กินยาต้าน
ระยะสั้น พบอุบัติการณ์การเกิดพิษต่อตับที่สูงกว่าระยะยาว การเกิดพิษต่อตับมักระดับรุนแรงทั้งระยะสั้นและยาว เพศชาย การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีร่วม การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีร่วม การได้รับบยาสูตร NNRTIs based ระยะเวลา/ อุบัติการณ์ สรุปผลการวิจัย ปัจจัยเสี่ยง

16 การนำไปใช้ประโยชน์ สามารถใช้เป็นแนวทางในการเลือกใช้ การปรับเปลี่ยนสูตรยาต้านไวรัสพร้อมทั้งวางแผนการรักษาได้ และ เพื่อเป็นข้อมูลในการดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวีโดยเฉพาะกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดพิษต่อตับ ดังนั้นการติดตามการทำงานของตับเป็นประจำยังมีความจำเป็น แม้ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์นั้นจะได้รับยาต้านไวรัสสูตรที่มีประสิทธิภาพสูงเป็นระยะเวลานาน Company Logo

17 อุบัติการณ์/ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่กินยาต้าน
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ Title สามารถเลือกใช้เป็นแนวทางในการเลือก ปรับเปลี่ยนสูตรยาต้านไวรัส และวางแผนการรักษาได้ เพื่อเป็นข้อมูลในการดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านและ มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดพิษต่อตับ

18 อุบัติการณ์/ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่กินยาต้าน
ข้อเสนอแนะ เป็นการศึกษาแบบย้อนหลัง อาจเก็บข้อมูลไม่สมบูรณ์ 1 ไม่สามารถทราบจุดเวลาการเกิดติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี/ซีที่แน่ชัด 2 แบบแผนการตรวจระดับ ALT ของผู้ที่รับยาสูตร NNRTIs และ PIs ต่างกัน 3 จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับยาสูตร PIs มีจำนวนน้อย มักจะได้รับยาสูตร NNRTIs มาก่อน 4

19 อุบัติการณ์/ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษต่อตับในผู้ป่วยที่กินยาต้าน
การติดต่อทีมงาน ภญ.นิจวรรณ ชื่นไมตรี ตำแหน่งเภสัชกรชำนาญการ โรงพยาบาลวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี โทร: Company Logo


ดาวน์โหลด ppt การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google