งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
วันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๐ ๑. สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ปี ๒๕๖๐ ๒. สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ ปี ๒๕๖๐ ๓. สถานการณ์โรค มือ เท้า ปาก ปี ๒๕๖๐ ๒. ผลการดำเนินงานเฝ้าระวังและควบคุมโรค ด้วยโปรแกรม R8-506 Dashboard เดือน มิถุนายน ๖๐

2 สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี ปี ๒๕๖๐
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี ปี ๒๕๖๐

3 สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ข้อมูล วันที่ 1 มกราคม – 26 มิถุนายน 2560
ที่มา:สำนักระบาดวิทยา รายงานประจำสัปดาห์ที่ 26

4 จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำแนกรายเดือน จ
จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำแนกรายเดือน จ.อุดรธานี ปี เปรียบเทียบมัธยฐาน 5 ปี ( ) ,Base line ,Target line จำนวนผู้ป่วย

5 จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 60 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 3.78 ต่อ ประชากรแสนคน
อัตราป่วย โรคไข้เลือดออก รายอำเภอ จ.อุดรธานี ข้อมูล วันที่ 1 มกราคม – 26 มิถุนายน 2560 อัตราป่วย ต่อ ประชากรแสนคน 24 ราย 4 ราย 18 ราย 2 ราย 4 ราย 2 ราย 2 ราย 2 ราย 1 ราย 1 ราย จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 60 ราย คิดเป็นอัตราป่วย ต่อ ประชากรแสนคน ที่มา:รายงาน 506 งานระบาดวิทยา สสจ.อุดรธานี

6 จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 18 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 1.13 ต่อ ประชากรแสนคน
อัตราป่วย โรคไข้เลือดออก รายอำเภอ จ.อุดรธานี ข้อมูล วันที่ 1 มิถุนายน – 26 มิถุนายน 2560 อัตราป่วย ต่อ ประชากรแสนคน 9 ราย 1 ราย 4 ราย 4 ราย จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 18 ราย คิดเป็นอัตราป่วย ต่อ ประชากรแสนคน ที่มา:รายงาน ๕๐๖ งานระบาดวิทยา สสจ.อุดรธานี

7 สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี 29 มิถุนายน 2560

8 สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่
สถานการณ์ในประเทศไทย - ตั้งแต่ 1 ม.ค.- 26 มิ.ย.60 พบผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ จำนวน 32,965 ราย เสียชีวิต 3 ราย สถานการณ์ จังหวัดอุดรธานี - ตั้งแต่ 1 ม.ค. – 26 มิ.ย.60 พบผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ จำนวน 117 ราย พบผู้ป่วยยืนยันไข้หวัดใหญ่ ชนิด A (H1N1) จำนวน 3 ราย (อ.เมือง 2 ราย , อ.บ้านดุง 1 ราย) พบผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ ชนิด A (H3) จำนวน 7 ราย พบผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ ชนิด B จำนวน 4 ราย

9 จำนวนผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่ H1N1 จ.อุดรธานี

10 การสอบสวนผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ H1N1 รายแรก
ผู้ป่วย หญิงไทย อายุ 33 ปี อาชีพแม่บ้าน ตั้งครรภ์ 37 wk. ไม่เคยได้รับวัคซีน การควบคุมโรค 1. เฝ้าระวังอาการผู้สัมผัสร่วมบ้าน จำนวน 3 คน ไม่มีอาการป่วย 2. แนะนำญาติทำความสะอาดและแยกสิ่งของ เครื่องใช้ร่วมกัน 3. ให้คำแนะนำ เผยแพร่ความรู้ให้ประชาชน หากมีอาการของโรคระบบทางเดินหายใจ ควรไปพบแพทย์โดยเร็ว 4. เฝ้าระวังผู้ป่วยรายใหม่ในชุมชน เป็นระยะเวลา 14 วัน 20 มิ.ย ไข้สูง ปวดศีรษะ ไอ เจ็บคอ ปวดกล้ามเนื้อ หายใจเหนื่อย 21 มิ.ย.60 เข้ารับการรักษา รพ.อุดรธานี ห้องคลอด Dx. Pneumonia 22 มิ.ย ส่งตัวอย่าง Nasal swab - ได้รับยาต้านไวรัส Osel. 75 mg. x 5 วัน 23 มิ.ย คลอดด้วยวิธี C/S ลูกเพศหญิง นน gm. สำลักน้ำคล่ำ ปอดติดเชื้อ ไม่ได้กินนมแม่ - ผล Lab H1N1 +ve

11

12 สัดส่วนผู้ป่วย ILI จังหวัดอุดรธานี จำแนกรายสถานบริการ
ตั้งแต่ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๖๐ – ๒๔ มิถุนายน ๒๕๖๐ ร้อยละ ภาพรวม 2.39 % ไม่ส่งข้อมูล ที่มา: สำนักระบาดวิทยา สัปดาห์ที่ ๒๕

13 Hand , foot and mouth disease

14 สถานการณ์โรคมือ เท้า ปาก
ข้อมูล วันที่ ๑ มกราคม – ๒๙ มิถุนายน ๒๕๖๐ ที่มา:สำนักระบาดวิทยา รายงานประจำสัปดาห์ที่ ๒๖

15

16 จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 314 ราย คิดเป็น อัตราป่วย 19.77 ต่อประชากรแสนคน
อัตราป่วย โรค Hand , foot and mouth disease จำแนกรายอำเภอ ตั้งแต่ 1 ม.ค.60 – 29 มิ.ย.60 อัตราป่วย ต่อ ปชก.แสนคน 46 57 14 16 12 103 15 9 5 14 5 9 2 2 3 1 1 จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 314 ราย คิดเป็น อัตราป่วย ต่อประชากรแสนคน ที่มา: รายงาน 506 สสจ.อุดรธานี

17 จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 91 ราย คิดเป็น อัตราป่วย 5.73 ต่อประชากรแสนคน
อัตราป่วย โรค Hand , foot and mouth disease จำแนกรายอำเภอ ตั้งแต่ 1 มิ.ย.60 – 29 มิ.ย.60 อัตราป่วย ต่อ ปชก.แสนคน 50 7 13 1 1 1 2 1 1 9 5 จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 91 ราย คิดเป็น อัตราป่วย 5.73 ต่อประชากรแสนคน ที่มา: รายงาน 506 สสจ.อุดรธานี

18 มาตรการป้องกันควบคุมโรคมือ เท้า ปาก จังหวัดอุดรธานี
สถานรับเลี้ยงเด็กและโรงเรียนอนุบาล ๑. ให้ความรู้เบื้องต้น และแนวทางการป้องกันโรคแก่ผู้ปกครอง ครูพี่เลี้ยง ครูผู้ดูแลเด็ก ๒. ให้ครูคัดทำการคัดกรองเด็กทุกเช้าก่อนเข้าชั้นเรียน เพื่อให้สามารถค้นหาเด็กที่ป่วยได้อย่างรวดเร็ว ๓. ให้มีการทำความสะอาดอุปกรณ์เครื่องใช้ต่างๆ ในชั้นเรียน ตามแนวทางการป้องกันควบคุมโรค ๔. การสั่งปิดสถานศึกษา ให้พิจารณาตามมาตรการที่กำหนด โดยประสานกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อร่วมในการตัดสินใจสั่งปิด/ไม่ปิดโรงเรียน

19 มาตรการป้องกันควบคุมโรคมือ เท้า ปาก จังหวัดอุดรธานี (ต่อ)
หัวใจสำคัญของการดำเนินการเพื่อป้องกันโรคมือ เท้า ปาก ระบบรายงานโรค 3 สถาน : สถานศึกษา สถานบริการสาธารณสุข และสาธารณสุขจังหวัด การทำกิจกรรมการทำความสะอาดจริง การคัดกรองเด็กของครู/ผู้ปกครอง ประสาน 3 สถาน : สถานศึกษา สถานบริการสาธารณสุข และสาธารณสุขจังหวัด

20 มาตรการป้องกันควบคุมโรคมือ เท้า ปาก จังหวัดอุดรธานี
สำหรับหน่วยบริการสาธารณสุข 1. จัดทำสถานการณ์โรค รายชื่อสถานศึกษาในพื้นที่ และลงพื้นที่เชิงรุกในการเฝ้าระวัง 2. การประสานกับสถานเลี้ยงเด็ก ให้ข้อมูลโรค สถานการณ์ และการเฝ้าระวัง 3. การวินิจฉัย เมื่อ จนท.ได้รับการแจ้งจากครู/ผู้ปกครอง ถ้าพบรายแรกของพื้นที่นั้น ให้ส่งพบแพทย์เพื่อวินิจฉัย และดำเนินการสอบสวนไปตามขั้นตอน รายอื่นๆ ดำเนินการสอบสวน และเข้าระบบรายงานตามปกติ 4. กรณีได้รับการประสานในการสั่งปิดโรงเรียน ให้เข้าร่วมและรายงานสาธารณสุขอำเภอ หัวหน้าหน่วยงานทราบทุกครั้ง (ข้อมูลจะอยู่ที่อำเภอ) และแจ้งจังหวัดทราบด้วย สำหรับงานควบคุมโรคฯ สสจ.อุดรธานี 1. ชี้แจงผู้บริหารระดับจังหวัด ระดับอำเภอ ให้ทราบแนวทางปฏิบัติ และรายงานสถานการณ์โรคแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และผู้บริหารฯ แจ้งพื้นที่ในการดำเนินงานตามมาตรการ ให้มีการรายงานทุกวัน

21 ผลการดำเนินงานการเฝ้าระวังและควบคุมโรค
ด้วยโปรแกรม R8-506 Dashboard จังหวัดอุดรธานี ข้อมูล ตั้งแต่ 1 มิ.ย.60 – 28 มิ.ย.60 (28 วัน)

22

23 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google