ศูนย์รับส่ง-ปรึกษาโรงพยาบาลศรีสะเกษ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การสรรหาและคัดเลือกบุคลากร บริษัท ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน จำกัด (มหาชน)
การดำเนินการเยี่ยมบ้าน ของศูนย์สุขภาพชุมชน
การดำเนินงานลดขั้นตอนและระยะเวลาให้บริการ (ตัวชี้วัดที่ 9)
การคัดเลือกพื้นที่เพื่อการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุข ในชายแดนชนบท
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
โครงการพัฒนาศักยภาพ เครือข่าย เจ้าพนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข ( ปี 2551) โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไซนัสอักเสบ
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ประชุมติดตามผลการดำเนินงานเกณฑ์มาตรฐานระบบงานเยี่ยมบ้าน
1. การดำเนินงาน 15 ประเด็น โครงการ ( โครงการเฉลิมพระเกียรติ ) 1.1 โรคคอตีบ - ตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 85 ในทุกจังหวัด - เป้าหมาย.
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
CQI เรื่อง กระดาษบอกสิทธิ์.
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
Ubonratchathani Provincial Public Health Office
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
แนวทางการเยี่ยมบ้านและการ จัดบริการเชิงรุก ศูนย์ประสานงาน FCT รพ. เทพารักษ์ รับ case จากรพ. มหาราช / เทพรัตน์ / รพ. ค่ายสุรนารี / รพ. อื่นๆ FCT รพ. เทพารักษ์
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
การเยี่ยมตรวจคุณภาพบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2558 ตุลาคม 2557 – กันยายน 2558
การดูแลระยะกลาง (Intermediate Care)
โครงการพัฒนารูปแบบ การคัดกรองวัณโรคและการรักษาวัณโรค
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายการตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่
COMPETENCY DICTIONARY
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
การพัฒนาข้อมูล HDC ปีงบประมาณ เมษายน 2559
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การดำเนินงานกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ จังหวัดเชียงใหม่
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
ผังองค์กรกลุ่มงานประกันสุขภาพ
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
แพทย์หญิงดนุชา ช่อเฟื้อง
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ครั้งที่ 7/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
การประชุมวิชาการครั้งที่ 5/2560
จังหวัดสมุทรปราการ.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
รายงานสถานการณ์E-claim
อุปนายกสมาคมวิจัยและพัฒนาการศึกษา ดร.พรสันต์ เลิศวิทยาวิวัฒน์
การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศด้านสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
อำเภอวังทอง อ.วัดโบสถ์ อ.นครไทย อ.เมือง อ.เนินมะปราง อ.เมืองพิจิตร
พ.ต.อ.หญิงนพมาศ ขำสมบัติ
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
จุดเน้นในการพัฒนา/แผนพัฒนา ความเสี่ยง/ความท้าทาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศูนย์รับส่ง-ปรึกษาโรงพยาบาลศรีสะเกษ เรื่องการส่งต่อผู้ป่วยมะเร็งในเครือข่ายจังหวัดศรีสะเกษ เขตบริการสุขภาพที่ 10 ประจำปีงบประมาณ 2560 นางสาวนริศร์ราพร พงษ์สุวรรณ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ

แนวทางการรับ-ส่งต่อนัดผู้ป่วยมะเร็งรับการรักษา วัตถุประสงค์ เพิ่อเป็นแนวทางในการปฎิบัติงานการรับส่งต่อ นัดรับการรักษา เพื่อลดระยะเวลารอคอย ลดค่าใช้จ่ายของ ผู้ป่วยในการเดินทางมารับการรักษา เป็นศูนย์กลางในการประสานความร่วมมือการ ดูแลรักษาและการรับ – ส่งต่อผู้ป่วยมะเร็ง เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาที่รวดเร็ว ปลอดภัย ไร้รอยต่อและเกิดความพึงพอใจในการรับบริการ

เขตพื้นที่รับผิดชอบในเขตบริการที่10

ทำไม????

จึงจำเป็นที่ต้องมีศูนย์ประสาน

โครงสร้างการประสานงานเครือข่ายการส่งต่อผู้ป่วยจังหวัดศรีสะเกษ แผนผังการให้บริการรักษาพยาบาลในระบบรับ - ส่งต่อผู้ป่วยโรงพยาบาลศรีสะเกษ โรงพยาบาลชุมชนในจังหวัดศรีสะเกษ ศูนย์แพทย์ชุมชน/ศูนย์สุขภาพชุมชน สถานีอนามัยในเครือข่าย รพ.ศรีสะเกษ เกินศักยภาพ เอกชน โรงพยาบาลศรีสะเกษ เกินศักยภาพ โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ หรือ สถานบริการอื่นๆ ใน จ.อุบลราชธานี / ในจังหวัดใกล้เคียง โรงพยาบาลศูนย์ หรือ สถานบริการอื่นๆ หรือที่ศักยภาพสูงขึ้น หมายเหตุ หมายถึง ระบบส่งต่อขั้นตนการรักษาปกติ หมายถึง ระบบส่งต่อข้ามขั้นตอน ตามดุลยพินิจของแพทย์ หมายถึง ระบบการประสานการส่งปรึกษาและส่งต่อตามแนวทางที่กำหนด

โครงสร้างเครือข่ายการส่งต่อผู้ป่วยของสถานพยาบาล ภายนอกจังหวัดศรีสะเกษ โรงพยาบาลมะเร็ง จ.อุบลฯ โทร 045-285610-4 Fax.045-285618 รพ.สรรพสิทธิประสงค์ จ.อุบลฯ โทร 045-240089-91 Fax.045-319279 รพ.พระศรีมหาโพธิ์ จ.อุบลฯ โทร 045-352500 Fax.045-352555 สถานพยาบาลในกระทรวงสาธารณสุข ในเขตเครือข่ายบริการที่ 10 (ศรีสะเกษ อุบลฯ ยโสธร อำนาจฯ มุกดาหาร) แม่ข่าย จ.ศรีสะเกษ โรงพยาบาลศรีสะเกษ ขนาด 500 เตียง สถานพยาบาลในกระทรวงสาธารณสุขและทบวงมหาวิทยาลัย ในส่วนกลาง (ก.ท.ม.และปริมณฑล) สถานพยาบาลในกระทรวงสาธารณสุขนอกเขตเครือบริการที่ 10 (ต่างจังหวัด)

ฉุกเฉิน(ศูนย์ประสานส่งต่อ) ขั้นตอน ไม่ฉุกเฉิน(ศูนย์ประสานส่งต่อ) 1.การประสานข้อมูลก่อนส่งต่อไปที่อื่น 1.1ER/IPD ส่งข้อมูลผู้ป่วยการส่งต่อ 1.2 ศูนย์ประสานส่งต่อ ประสานข้อมูลไปสถานบริการปลายทาง และแจ้งผลการประสานส่งต่อให้ ER / IPD รับทราบ 1.3 ER / IPD เตรียมพร้อมนำส่งผู้ป่วย ใบ บส. 08 เอกสารการรักษาอื่นๆ เช่น ฟิล์ม/ใบชันสูตร/EKG 1.1OPD/IPD(มะเรีง/รพ.สปส) ส่งข้อมูลผู้ป่วยการส่งต่อให้ ศูนย์ปรึกษาเพื่อรับวันนัดหมายก่อนส่งต่อ 1.2 ศูนย์ส่งปรึกษา ประสานข้อมูลไปสถานบริการปลายทาง และแจ้งผลการประสานส่งต่อให้ ER / IPD รับทราบ วันนัดหมายรับบริการ ผลการส่งปรึกษา 1.3 OPD/IPD(มะเรีง/รพ.สปส) เตรียมพร้อมนำส่งผู้ป่วยไปรับการรักษาตามวันที่รับการนัดหมายจากศูนย์ส่งปรึกษา ใบ บส.08 เอกสารการรักษาอื่นๆ เช่น ฟิล์ม / EKG / ใบนัด วันนัดหมายพบแพทย์ 2.การนำส่งผู้ป่วย - เดินทางโดยรถ Refer 2. การนำส่งผู้ป่วย - เดินทางไปเองโดยได้รับนัดหมายหรือข้อมูลขั้นตอนการรับบริการจากโรงพยาบาลปลายทาง 3.การส่งต่อ - ส่งผู้ป่วยที่ ER รพ.ปลายทาง/ตามที่ระบุ - ผู้ป่วยไปตามวันนัดเพื่อรับบริการที่ OPD / IPD ตามที่ระบุในใบนัดหมาย แพทย์ รพ.ศรีสะเกษ ส่งต่อผู้ป่วยไปรักษาที่อื่น รพ.ศรีสะเกษบันทึกข้อมูล Refer ให้ครบถ้วนก่อนคลิกส่ ง Refer ใน Himpro หรือ ทางโทรศัพท์ FAX. Facebook / line รพ.ศรีสะกษ คลิกสถานะผู้ป่วยใน E-Refer พิมพ์ บส.08 จาก Himpro 2 ใบ นำส่งพร้อมผู้ป่วย นำส่งผู้ป่วยที่ รพปลายทาง พร้อม บส.08 และเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้อง

การเตรียมตัวการส่งต่อผู้ป่วยเพื่อบริการที่โรงพยาบาลศรีสะเกษ โรค/แผนก ส่งทั้งหมด /คน ส่งปรึกษา ฉายรังสี MRI MRI/คน 1.มะเร็งหู คอ จมูก 85 95 .8 131 2.มะเร็งเต้านม 72 71 31 11 3.มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก 25 13 15 4.มะเร็งกระเพาะอาหาร 10 2 1 5. มะเร็งถุงน้ำดี 5 6. มะเร็งตับ 3 48 7.มะเร็งท่อน้ำดี 8 75 7. มะเร็งปอด 4 26 8. มะเร็งศัลยกรรมกระดูก 7 38 9. มะเร็งระบบทางเดินปัสสาวะ 113 10. มะเร็งโรคเลือด 23 11. อายุรกรรมอื่นๆ 211 12.ศัลยกรรมทั่วไป 132 13. สูติ-นรีเวช 63 14. กุมารเวชกรรม 100 15. มะเร็งปากมดลูก 21 6 รวม 343 975

การประชุมสัมมนาระหว่างเครือข่ายเชิงปฎิบัติการระบบส่งต่อผู้ป่วยโรคมะเร็งในเขตบริการที่ 10

การประชุมแลกเปลี่ยนความรู้ ปัญหา-อุปสรรค ในภาพรวมของจังหวัดศรีสะเกษ การประชุมแลกเปลี่ยนความรู้ ปัญหา-อุปสรรค ในภาพรวมของจังหวัดศรีสะเกษ

โครงการพัฒนาเครือข่ายดูแลรักษาและส่งต่อผู้ป่วยมะเร็งในจังหวัดศรีสะเกษ ปีงบประมาณ ๒๕๕๙

ขั้นตอนการประสานงานระหว่างเครือข่าย

ปัญหาและอุปสรรค

ปัญหาที่พบ (ต่อ) การส่งผู้ป่วยมะเร็งเต้านมมารับการรักษา ด้วยการฉายรังสี (มักส่งเมื่อให้เคมีครบแล้ว) ผู้ป่วยที่มีประวัติการผ่าตัดไม่มีแนบใบ Operative record มาด้วย

เพื่อลดระยะเวลา รอคอย ลดค่าใช้จ่ายในการเดินทาง

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น ผู้ป่วยได้พบแพทย์เพื่อวางแผนการ รักษาและ/หรือจำลองแผนการรักษา ในวันแรกที่มาโรงพยาบาล ( First Visit First Treatment) ลดระยะเวลารอคอยในการรับการ รักษาและได้รับการรักษาในเวลาที่ เหมาะสมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ รักษา ลดภาระค่าใช้จ่ายในการเดินทางของ ผู้ป่วย 4. ลดความแออัดในโรงพยาบาลของผู้ มารับบริการ

แนวทางการประสานงานระหว่างเครือข่ายมะเร็ง

ผู้ป่วยฉุกเฉินรังสีรักษา -Brain metastasis -Spinal cord compressin -SVC obstruction -Tumor Bleeding -dyspnea -cancer pain

เอกสารที่จำเป็นในการส่งต่อผู้ป่วยมะเร็งทั่วไป ใบส่งตัวพร้อมประวัติการรักษา 2.สำเนาใบรายงานผลทางพยาธิวิทยาทุกใบที่เกี่ยวข้อง ฟิลม์ X-ray /CT /MRI /Bone scan พร้อมผล อ่าน ( ถ้ามี ) ใบรายงานผลทางปฎิบัติการโดยเฉพาะที่มีความเกี่ยวข้องกับโรค ของผู้ป่วย ใบรายงานการผ่าตัด Slide ชิ้นเนื้อ ( ในกรณีที่ผลอ่าน Patho ไม่ชัดเจน ) ขอสำเนา Pathology report

วินิจฉัย brain metastasis รอคิว RT < 48 ชม ประเมินแรกรับ: neuro sign ( GCS, motor power) ประเมินneuro sign ระหว่างรักษาทุก 1 วัน Alarm : GCS drop >3 , progress weakness Bed sore Treatment Whole brain RT Dexamethasone กายภาพ ประเมิน neuro sign , bed sore ก่อนจำหน่าย ดูแลต่อเนื่อง Palliative care : HHC Specific cancer treatment

สรุปสถิติการรับบริการประสานนัดรับการรักษา ปีงบประมาณ จำนวนการให้บริการ(ราย) ปีงบประมาณ 2557 272 ปีงบประมาณ 2558 348 ปีงบประมาณ 2559 ( ตุลาคม 58 - มิถุนายน 59 ) 268

ตารางการปฏิบัติงานของแพทย์รังสีรักษาร.พ.มะเร็งอุบลราชธานี แพทย์ วัน จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัส ศุกร์ นพ.เทวินทร์ โชติธนประสิทธิ์ มะเร็งทางนรีเวช มะเร็งระบบอื่นที่ไม่ใช่นรีเวช SIMULATION HDR ตรวจระหว่างฉาย - รับผู้ป่วยฉุกเฉินรังสีรักษา/ผู้ป่วยใหม่รังสีรักษาสลับกันคนละสัปดาห์ตามตาราง -คนไข้ใหม่ทุกวันศุกร์ให้ตรวจวันที่แพทย์นั้นออกตรวจ OPD หมายเหตุ ผู้ป่วยฉุกเฉินรังสีรักษา -Brain metastasis -Spinal cord compression -SVC obstruction -Tumor bleeding -Dyspnea -Cancer pain รับผู้ป่วยFaxรายใหม่ (ไม่ฉุกเฉิน)SIM(บ่าย) นพ.ธนุตม์ ก้วยเจริญพานิชก์ พญ.อัจฉริยาพร ทองเถาว์ ตรวจระหว่างฉาย CCRT (รายเก่า) 3D conturing (รายใหม่) พญ.สุภัชชา เขียวหวาน นพ.พงศธร ศุภอรรถกร เช้า ตรวจผู้ป่วยเก่า ตารางการปฏิบัติงานของแพทย์รังสีรักษาร.พ.มะเร็งอุบลราชธานี

ขอบคุณคะ