การขับเคลื่อนระบบตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
การประชุมหารือกรอบการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) กรมการ แพทย์ นายแพทย์ณรงค์ อภิกุลวณิช รองอธิบดีกรมการแพทย์ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การขับเคลื่อนนโยบาย และการดำเนินงานแบบบูรณาการ ของกระทรวงสาธารณสุข ปี 2559 โดย : นายแพทย์โสภณ เมฆธน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
การกำกับ ติดตาม ประเมินผล สำนักตรวจและประเมินผล Bureau of Inspection and Evaluation.
Service Plan 5 สาขาหลัก.
แนวทางการตรวจราชการคุณภาพ เขตสุขภาพที่1
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
คณะที่ 4 พัฒนาระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงาน เขตสุขภาพที่ 12
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560
ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การตรวจราชการ ประจำปี 2560
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์
การขับเคลื่อนระบบตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กำหนดการ การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับฯ รอบที่ 2 ประจำปี 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การขับเคลื่อนระบบตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 นพ.รัฐวุฒิ สุขมี ผู้ตรวจราชการกระทรวง ประธานคณะกรรมการขับเคลื่อนระบบตรวจราชการฯ

การตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข อาศัย “ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจราชการ พ.ศ. 2548” วัตถุประสงค์ 1. เพื่อใช้เป็นแนวทางในการตรวจ กํากับ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานตามเป้าหมายยุทธศาสตร์กระทรวง นโยบายสําคัญที่จะเร่งรัดดําเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ.2558 และการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในแต่ละพื้นที่ ให้มีประสิทธิภาพและเป็นไปตามเวลาที่กําหนด 2. เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการประสานการตรวจราชการระหว่างส่วนราชการภายในและภายนอกกระทรวงสาธารณสุขในส่วนที่เกี่ยวข้อง 3. เพื่อเป็นแนวทางให้แต่ละจังหวัดพัฒนาระบบการตรวจราชการให้สอดคล้อง กับระบบการตรวจราชการของประเทศ โดยประสานกันในทุกระดับ คือ ระดับกระทรวง กรม และจังหวัด รวมทั้ง สามารถแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของพื้นที่และสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นได้สอดคล้องกับการบริหารงานจังหวัดบูรณาการ 4. เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและป้องปรามปัญหาการทุจริตและประพฤติมิชอบ

กรอบประเด็นการตรวจราชการ ปี 2559 นโยบายรัฐบาล นโยบาย รมว.สธ. แผนบูรณาการประเทศ แผนบูรณาการกระทรวง กรอบประเด็นการตรวจราชการ ปี 2559 คณะ 1 คณะ 2 คณะ 3 คณะ 4 คณะ 5 การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยและระบบควบคุมโรค การพัฒนาระบบบริการ การพัฒนาระบบบริหารจัดการ การพัฒนาระบบสนับสนุนงานด้านสุขภาพ การตรวจราชการแบบบูรณาการ 1.การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัย 1)กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย 2) กลุ่มเด็กวัยเรียน 3) กลุ่มเด็กวัยรุ่น 4) กลุ่มวัยทำงาน 5)กลุ่มผู้สูงอายุและ คนพิการ 2.ระบบควบคุมโรค 1. การบริหารการเงิน การคลัง 2. ยาและเวชภัณฑ์ 3. การพัฒนาบุคลากร 4. ธรรมภิบาล 1. ระบบการคุ้มครอง ผู้บริโภคด้านบริการ อาหารและผลิตภัณฑ์ สุขภาพ 2. ด้านสิ่งแวดล้อมด้าน 1. การจัดการขยะ มูลฝอยและสิ่งแวดล้อม 2. มาตรการกระตุ้น เศรษฐกิจ 1.การจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งแวดล้อม 2.มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ การพัฒนา Service Plan 12 สาขา กรมวิชาการ และหน่วยงาน ใน สป. การขับเคลื่อนระบบตรวจราชการ

คณะ1 การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยและระบบควบคุมโรค กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเน้น 1. ระบบเฝ้าระวังมารดาตาย 2. การพัฒนาเด็กปฐมวัย - ระบบบริหารจัดการดูแลสุขภาพ แม่และเด็ก - การจัดการระบบข้อมูลมารดาตาย / เด็กปฐมวัย - การส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพและ ลดปัจจัยเสี่ยงของมารดา/เด็กปฐมวัย - ระบบบริการที่มีคุณภาพ 1.การสร้างทีมเครือข่ายผู้ก่อการดี (Merit Maker) ป้องกันการจมน้ำ 2. ภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน - การถ่ายทอดโปรแกรมนักจัดการน้ำหนักเด็กวัยเรียน (Smart Kids Coacher: SKC) สู่โรงเรียนเป้าหมาย/สถานบริการสาธารณสุข - การคัดกรอง ส่งต่อ การจัดการแก้ไขปัญหา และการรายงานผล 1. ทีมนักจัดการสุขภาพวัยรุ่น (Teen Manager) 2. ระบบเชื่อมโยงการดูแลช่วยเหลือนักเรียน (OHOS) 3. การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นและการตั้งครรภ์ซ้ำ 4. การป้องกันการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในวัยรุ่น 1.ป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน - การบริหารจัดการข้อมูลและการสอบสวนอุบัติเหตุ - มาตรการชุมชน/ด่านชุมชน - มาตรการองค์กร 2. อัตราตายด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจ - ลดพฤติกรรมเสี่ยงและปัจจัยเสี่ยงในประชากร - พัฒนาการจัดการโรคและลดเสี่ยงรายบุคคล 1.ผู้สูงอายุ - การบริหารจัดการดูแลผู้สูงอายุและฐานข้อมูล การบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในผู้สูงอายุ - การดูแลรักษาและฟื้นฟูสภาพ ระบบการดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงแบบระยะยาว (Long term care) 2. ผู้พิการ - การพัฒนาระบบดูแลสุขภาพคนพิการที่มีคุณภาพ - การปรับสภาพแวดล้อม และมีสิ่งอำนวยความสะดวก 1. การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา 2. การเตรียมความพร้อมในการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค 3. การตอบโต้สถานการณ์หรือภาวะ ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขของทีม SRRT 4. การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ในการป้องกันควบคุมโรค 5. การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย กลุ่มวัยเรียน กลุ่มวัยรุ่น กลุ่มวัยทำงาน กลุ่มผู้สูงอายุ-ผู้พิการ ระบบควบคุมโรค

คณะ 2 การพัฒนาระบบบริการ Service Plan 12 สาขา 1. สาขาหัวใจ 2 สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน 3. สาขามะเร็ง 4. สาขาทารกแรกเกิด 5. สาขาไต 6. สาขาตา 7. สาขาสุขภาพช่องปาก 8. สาขาสุขภาพจิต จิตเวช และยาเสพติด 9. 5 สาขาหลัก 10. สาขาโรคไม่ติดต่อ (NCD) 11. สาขาปฐมภูมิและสุขภาพ องค์รวม 12. สาขาการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ผสมผสาน ประเด็นตรวจราชการที่มุ่งเน้น 1. เขตสุขภาพต้องกำหนดความต้องการ ด้านสุขภาพ (Health Needs) โดยพิจารณา 1) การลด Morbidity, Mortality 2) Access to Care 3) Equity Quality Efficiency (EQE)  2. การจัดบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) โดย Designed Services จากการ Analyze GAP ของ Health Needs เพื่อหาส่วนขาด และจัดทำแผนรองรับ Service Plan ของเขตสุขภาพในรูปแบบ One Hospital, One Region  3. ระบบสนับสนุน (Supportive System) การพัฒนาระบบบริการในด้านต่างๆ ดังนี้ 1)กำลังคนด้านสุขภาพ (Health workforce) 2) ระบบข้อมูลสารสนเทศ (Information system and sharing) 3) ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ วัคซีน และ เทคโนโลยี 4) ระบบการเงินการคลังสาธารณสุข (Financing) 5) การอภิบาลระบบสุขภาพ (Leadership and Governance)  4. การถอดเป็น Service Planระดับกระทรวงเพื่อได้ Investment Plan

การพัฒนาระบบบริหารจัดการ คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเน้น ประสิทธิภาพในการบริหารการเงินสามารถควบคุมปัญหาการเงินระดับ ๗ ของหน่วยบริการในพื้นที่ การพัฒนาประสิทธิภาพระบบการบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา พ.ศ. 2557 การสั่งใช้และการใช้ยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาอย่างสมเหตุผล จริยธรรมว่าด้วยการจัดซื้อจัดหาและการส่งเสริมการขายยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา การจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรโดยการมีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่ายในพื้นที่ (Integrate & Participation) ครอบคลุมปัญหาทั้งด้านบริหาร บริการและสนับสนุน กลไกและระบบสนับสนุนในการพัฒนาบุคลากรให้มีประสิทธิภาพเกิดผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมาย (Input, Process, output/ outcome, Feedback) การกำกับ ติดตามการพัฒนาบุคลากรของจังหวัด การเสริมสร้างและพัฒนา บุคลากรของหน่วยงานให้มีวินัย และป้องกันการกระทำผิดวินัย 2) การตรวจสอบภายใน 3) หน่วยงานคุณธรรม ด้านการเงินการคลัง ด้านยาและเวชภัณฑ์ การพัฒนาบุคลากร ธรรมาภิบาล

คณะ 4 การพัฒนาระบบสนับสนุนงานด้านสุขภาพ ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเน้น จังหวัดมีการกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทและน้ำแข็ง จังหวัดมีการกำกับดูแลคุณภาพ มาตรฐานและความปลอดภัยของนมโรงเรียน 3. การจัดการปัญหาโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพผิดกฎหมาย 4. การดำเนินงานของคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพของจังหวัด 5. คลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริมความงาม ได้รับการเฝ้าระวังและสถานพยาบาลที่กระทำผิดกฎหมายได้รับการดำเนินการตามกฎหมายครองผู้บริโภคของจังหวัด 6. การดำเนินงานของคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพของเขต จังหวัดมีระบบและกลไกสนับสนุนการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขให้ถูกต้องตามกฎหมาย จังหวัดมีระบบและกลไกสนับสนุนการจัดการ มูลฝอยทั่วไปขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้ถูกหลักสุขาภิบาล ระบบคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ระบบคุ้มครองผู้บริโภคด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

คณะ 5 การตรวจราชการแบบบูรณาการร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเน้น 1. การจัดทำแผน มาตรฐาน มาตรการ เกณฑ์การปฏิบัติ กฎหมาย : แผนงานบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม 2. การเพิ่มศักยภาพการเก็บและกำจัด 1) โครงการพัฒนาระบบการจัดการขยะให้ถูกสุขลักษณะ 2) โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการขยะติดเชื้อและของเสียทางการแพทย์ให้ถูกสุขลักษณะ 3) โครงการส่งเสริมการจัดการน้ำเสียให้ถูกสุขลักษณะเพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพ 4) โครงการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพในพื้นที่วิกฤติด้านมลพิษอากาศ 3. การเสริมสร้างศักยภาพและถ่ายทอดองค์ความรู้ 1) โครงการสนับสนุนบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาล โครงการอนุรักษ์ภูมิปัญญาพื้นบ้านด้วยการส่งเสริมใช้สมุนไพรในครัวเรือน และการแปรรูปสมุนไพร การจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งแวดล้อม มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ

ระยะเวลาในการตรวจราชการ 1. ตรวจราชการกรณีปกติ ปีละ 2 รอบ ได้แก่ รอบที่ 1 ระหว่างเดือน มกราคม - มีนาคม 2559 เพื่อสอบทานความเสี่ยงตามหลัก ธรรมาภิบาล (วิเคราะห์ปัญหา / จัดทำแผนยุทธศาตร์ ) และติดตามความความก้าวหน้า ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงาน ให้ข้อเสนอแนะเพื่อหน่วยรับตรวจนำไปปรับปรุงแนวทางการดำเนินการให้เกิดผล เป็นรูปธรรม และประมวลสรุปปัญหาและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อส่วนกลาง และผู้บริหาร รอบที่ 2 ระหว่างเดือน มิถุนายน – กันยายน 2559 เป็นการติดตามประเมินผลตาม ประเด็นการตรวจราชการ และประมวลสรุปปัญหาและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อส่วนกลาง และผู้บริหาร 2. การตรวจ กำกับ ติดตามราชการ ตามปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ ระหว่างเดือน ตุลาคม 2558 – กันยายน 2559 รายเดือน รายไตรมาส พิจารณาวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพและปัญหาการ ดำเนินงานในพื้นที่ กำหนดเป็นแผนการตรวจ กำกับ ติดตาม ประเมินผลรายเดือน รายไตรมาส หรือตามความ เหมาะสม โดยใช้กลไกของคณะกรรมการการตรวจ กำกับ ติดตามราชการระดับเขต หรือ คณะกรรมการ

การลงพื้นที่ตรวจราชการ รูปแบบการตรวจราชการ รูปแบบที่ 1 การลงพื้นที่ตรวจราชการ และนิเทศงานร่วมกัน รูปแบบที่ 3 ใช้กลไกของคณะกรรมการ เช่น คกก.ตรวจ กำกับ ติดตามระดับเขต หรือ คปสข. หรือ คกก.บริหารเขตสุขภาพ หรือ ทีมเฉพาะกิจ รูปแบบที่ 2 ใช้กลไกการตรวจราชการและนิเทศงาน กำกับ ติดตาม ประเมินผล โดยผู้ทำหน้าที่ตรวจราชการกรม

การพัฒนาระบบตรวจราชการ “คณะกรรมการขับเคลื่อนระบบตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข” ประธาน ผู้ตรวจราชการระทรวง (นพ.รัฐวุฒิ สุขมี) กรรมการ รองอธิบดีที่ได้รับมอบหมายและกองแผนงานของทุกกรม ผู้อำนวยการสำนัก/ กองที่เกี่ยวข้อง ในสป. เลขานุการ สำนักตรวจและประเมินผล

ประเด็นการขับเคลื่อนและการพัฒนาที่สำคัญ แผนยุทธศาสตร์ของจังหวัด ข้อมูลสนับสนุนการตรวจ กำกับ ติดตาม ประเมินผล พัฒนาบุคลากรในระบบตรวจราชการ

แผนยุทธศาสตร์ของจังหวัดเชื่อมโยงแก้ไขปัญหา ผู้ตรวจ/นิเทศ ศึกษาแผนยุทธศาสตร์ ในภาพรวมจังหวัด และประเด็นตรวจราชการที่เกี่ยวข้อง การวิเคราะห์สภาพปัญหา มีการจัดทำแผนแก้ไขปัญหาตามประเด็นตรวจฯ

ข้อมูลสนับสนุนการตรวจ กำกับ ติดตาม ประเมินผล ผู้ตรวจ/นิเทศ จัดเตรียม/ศึกษาข้อมูล ก่อนลงพื้นที่ ---ชี้เป้า/ประเด็นสำคัญ Info. Info. Info. Verify Info. ข้อมูลจากส่วนกลาง ข้อมูลที่พื้นที่นำเสนอ Info. Verify Info. Info. Info. Info. มาตรฐาน / ข้อมูลสนับสนุนเชิงวิชาการที่เกี่ยวข้อง ข้อค้นพบ / ข้อมูลเชิงประจักษ์ ระบบข้อมูลมาตรฐาน กสธ. ข้อมูลกรม/ศูนย์วิชาการ หน่วยงานต่างๆ ใน สธ. แหล่งอื่นๆที่เกี่ยวข้อง : ทะเบียนราษฎร์ , สำรวจ ฯลฯ ความก้าวหน้า/ผลสำเร็จของการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะเพื่อการแก้ปัญหา สิ่งที่ส่วนกลางต้องสนับสนุนเพิ่มเติม ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

การรายงานผล และ จัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ทีมตรวจราชการ ทีมวิชาการส่วนกลาง หน่วยรับตรวจ คณะ กรรมการ คกต. รอบที่ 1 รอบที่ 2 ผลการตรวจราชการ After Action Review Sharing ผู้บริหารระดับสูงของกระทรวง พิจารณาเห็นชอบสั่งการ/ดำเนินการ คณะผู้ตรวจราชการกระทรวง/สาธารณสุขนิเทศก์ พิจารณากลั่นกรองข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

พัฒนาบุคลากรในระบบตรวจราชการ ข้อสังเกต การหมุนเวียนหรือเปลี่ยนตัวบุคคลที่การทำหน้าที่ตรวจนิเทศงาน ส่วนกลางไม่สามารถสนับสนุนบุคลากรลงตรวจนิเทศงานในพื้นที่ ได้ครบตามประเด็น /พื้นที่ ต้องมอบหมายบุคลากรในภูมิภาคบางส่วนมาร่วมตรวจนิเทศ ประเด็นสำคัญคือ “ความพร้อมในการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ได้รับมอบหมาย” การเตรียมความพร้อม / การพัฒนาบุคลากร ระยะสั้น : พัฒนาด้านเนื้อหาและกระบวนการ ระยะยาว : พัฒนาทักษะด้านการตรวจราชการและนิเทศงาน

ระยะสั้น : พัฒนาด้านเนื้อหาและกระบวนการ เตรียมความพร้อมในการทำงานร่วมกัน เนื้อหา แนวทาง วิธีการตรวจนิเทศ ในแต่ละหัวข้อหรือ ประเด็นที่ได้รับมอบหมาย การประสานการตรวจราชการและการดำเนินงานร่วมกันของ ทีมตรวจนิเทศในพื้นที่เขตสุขภาพที่ได้รับมอบหมาย

ระยะยาว: พัฒนาทักษะด้านการตรวจราชการและนิเทศงาน หน่วยรับตรวจ ความพึงพอใจ การปรับปรุงแก้ไข ผลลัพธ์ Refresh คณะตรวจ performance กระบวนการตรวจและนิเทศ ผลลัพธ์ เช่น การวิเคราะห์สรุป ผลตรวจ การให้ข้อเสนอแนะ การรายงาน Advance Basic กลุ่มเป้าหมาย - ผู้ทำหน้าที่ตรวจราชการ ผู้นิเทศงานของกรม - ผู้นิเทศงานของสำนัก/กลุ่ม ในสป. - ผู้นิเทศงานในพื้นที่ - หัวหน้ากลุ่มตรวจราชการเขต และผู้ช่วย Transparent 3-D steps with labels (Advanced) To reproduce the bottom rectangle with text effects on this slide, do the following: On the Home tab, in the Slides group, click Layout, and then click Blank. On the Home tab, in the Drawing group, click Shapes, and then under Rectangles, click Rectangle (first option from the left). On the slide, drag to draw a rectangle. Under Drawing Tools, on the Format tab, in the Size group, do the following: In the Shape Height box, enter 1.5”. In the Shape Width box, enter 3”. On the Home tab, in the bottom right corner of the Drawing group, click the Format Shape dialog box launcher. In the Format Shape dialog box, click Fill in the left pane, and then do the following in the right pane: Select Solid fill. Click the button next to Color, and then under Theme Colors click White, Background 1 (first row, first option from the left). In the Transparency box, enter 0%. Also in the Format Shape dialog box, click Line Color in the left pane, and then select No line in the right pane. Also in the Format Shape dialog box, click 3-D Rotation in the left pane. In the right pane, click the button next to Presets, and then under Parallel click Off Axis 2 Top (third row, second option from the left). Also in the Format Shape dialog box, click 3-D Format in the left pane, and then do the following in the right pane: Under Bevel, click the button next to Top, and then under Bevel click Circle (first row, first option from the left). Next to Top, in the Width box, enter 7 pt, and in the Height box, enter 7 pt. Under Depth, click the button next to Color, and then under Theme Colors click White, Background 1 (first row, first option from the left). In the Depth box, enter 40 pt. Under Surface, click the button next to Material, and then under Translucent click Clear (third option from the left). Click the button next to Lighting, and then under Special click Two Point (second option from the left). In the Angle box, enter 70°. On the Insert tab, in the Text group, click Text Box, and then on the slide, drag to draw the text box. Enter text in the text box, select the text, and then on the Home tab, in the Font group, select TW Cen MT Condensed from the Font list and then select 36 from the Font Size list. Under Drawing Tools, on the Format tab, in the WordArt Styles group, click the arrow next to Text Fill, and then under Theme Colors click White, Background 1 (first row, first option from the left). Drag the text box and position it over the rectangle. On the Home tab, in the Paragraph group, click Align Text Right to align the text right on the slide. In the Format Text Effects dialog box, click 3-D Rotation in the left pane. In the right pane, click the button next to Presets, and then under Parallel click Off Axis 2 Left (second row, fourth option from the left). Select the text box. Under Drawing Tools, on the Format tab, click Text Effects point to 3-D Rotation, and then click 3-D Rotation Options. To reproduce the background on this slide, do the following: Right-click the slide background area, then click Format Background. In the Format Background dialog box, click Fill in the left pane, select Gradient fill in the right pane, and then do the following: In the Type list, select Linear. Click the button next to Direction, and then click Linear Diagonal (first row, third option from the left). In the Angle box, enter 135%. Under Gradient stops, click Add or Remove until two stops appear in the drop-down list. Also under Gradient stops, customize the gradient stops that you added as follows: Select Stop 1 from the list, and then do the following: In the Stop position box, enter 0%. Select Stop 2 from the list, and then do the following: Click the button next to Color, and then under Theme Colors click White, Background 1, Darker 15% (third row, first option from the left). In the Stop position box, enter 100%. Select the rectangle. Under Drawing Tools, on the Format tab, in the Size group, do the following: In the Shape Height box, enter 0.33”. In the Shape Width box, enter 10”. On the Home tab, in the Drawing group, click Shapes, and then under Basic Shapes, click Right Triangle (first row, fourth option from the left). On the Home tab, in the Drawing group, click the arrow next to Shape Outline, and then click No Outline. On the Home tab, in the Drawing group, click the arrow next to Shape Fill, and then under Theme Colors click White, Background 1, Darker 15% (third row, first option from the left). Select the triangle. Under Drawing Tools, on the Format tab, in the Size group, do the following: On the slide, drag to draw a triangle. In the Shape Height box, enter 1.33”. On the Home tab, in the Drawing group, click the arrow next to Shape Fill, and then click White, Background 1, Darker 15% (third row, first option from the left). On the Home tab, in the Drawing group, click Arrange, and then do the following: Position the rectangle and the triangle so that the bottom edge of the triangle and the top edge of the rectangle are touching. Press and hold SHIFT and select both the rectangle and the triangle. Point to Align, and then click Align Bottom. Point to Align, and then click Align Center. Under Group Objects, click Group. In the Size and Position dialog box, on the Size tab, under Size and rotate, in the Rotation box, enter 180°. Under Drawing Tools, on the Format tab, in the Arrange group, click the arrow next to Rotate, and then click More Rotation Options. On the Home tab, in the Clipboard group, click the arrow under Paste, and then click Duplicate. On the Home tab, in the Drawing group, click Arrange, point to Align, and then do the following: Click Align Center. On the Home tab, in the Drawing group, click the arrow next to Shape Fill, and then under Theme Colors click White, Background 1 (first row, first option from the left). Click Align Top. To reproduce the other rectangles with text effects on this slide, do the following: On the Home tab, in the Clipboard group, click the arrow under Paste, and then click Duplicate. Repeat this step until you have a total of five groups of shapes. Press and hold SHIFT and select the original text box and rectangle. On the Home tab, in the Drawing group, click Arrange, and then under Group Objects click Group. Also in the Selection and Visibility pane, press and hold CTRL and select all five groups of rectangles and text boxes. On the Home tab, in the Editing group, click Select, and then click Selection Pane. In the Selection and Visibility pane, select each of the groups and drag on the slide to form a series of steps. On the Home tab, in the Drawing group, click Arrange, point to Align, and then click Distribute Horizontally. On the Home tab, in the Drawing group, click Arrange, point to Align, and then click Distribute Vertically. To change the text on the duplicate rectangles, click in each text box and edit the text.

เบื้องต้น (Basic Skills) เน้นความรู้และทักษะ 4 ด้าน คือ 1) การวิเคราะห์และจัดลำดับความสำคัญ (priority setting) 2) การคิดวิเคราะห์ (analytical skill) 3) การคิดสร้างสรรค์ (creative thinking) 4) ทักษะด้านการสอนงาน (Coaching skill) ดำเนินการมาตั้งแต่ ปีงบประมาณ 2558 ปัจจุบันอบรม ได้ 3 รุ่น (รุ่นละ 50 คน) สำนักตรวจและประเมินผลเป็นเจ้าภาพหลัก

คำว่า ดีที่สุด มีไว้สำหรับงานต่อไปเสมอ The word “Best” is always there for the next start.