Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า
น.พ.นิทัศน์ รายยวา รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “การปฏิบัติงานด้านการเงิน” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “ การปฏิบัติงานพัสดุไม่ ยากอย่างที่คิด ” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
งานบริการการศึกษา.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
การดำเนินงานตามโครงการ “ หลักสูตรคู่ขนาน ” โรงเรียนกู่กาสิงห์ประชา สรรค์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 27 อัต ลักษ ณ์ เอกลั กษณ์ มีความรู้คู่
โครงการ ( Project) หมายถึง โครงการ ( Project) หมายถึง.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
แนวปฏิบัติที่ดีของสถานเวชศาสตร์ชุมชน และเวชศาสตร์ครอบครัว
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
บทที่ 4 การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
Continuous Quality Improvement
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
สำนักวิชาสหเวชศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ แก่สังคมภายนอกสถาบันการศึกษา หรือเป็นการ บริการ ที่จัดในสถาบันการศึกษาโดยมีบุคคลภายนอกมา ใช้บริการ เพื่อพัฒนาชุมชนหรือองค์กรภายนอก และเมื่อดำเนินการแล้ว มีผลก่อให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นแก่ชุมชนหรือองค์กร ภายนอกในด้านต่าง ๆ หรือทำให้ชุมชนหรือองค์กร ภายนอกมีความเข้มแข็งและสามารถพึ่งพาตนเอง ได้ตามศักยภาพของตนเอง

แนวปฏิบัติที่ดี (Good Practices) งานบริการวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยี องค์ ความรู้ Knowle dge บริการวิชาการ แบบให้เปล่า บริการวิชาการ เชิงธุรกิจ ( งาน รับจ้าง )

กระบวนการ แนวทางการดำเนินการ ( กลยุทธ์ Trick & Technic) กำหนดขั้นตอนการดำเนินการตามหลัก PDCA P (Plan) การวางแผนการดำเนินโครงการ และมีการ สำรวจบริบทสภาพปัญหาและความต้องการของ ประชาชนกลุ่มเป้าหมายทำให้ทราบปัญหาและความ ต้องการเพื่อนำมากำหนดเป้าหมาย และหัวข้องาน บริการวิชาการ เพื่อให้เกิดประโยชน์และตรงกับความ ต้องการของประชากรกลุ่มเป้าหมาย D (Do) การลงมือทำในการดำเนินการจัดโครงการ บริการวิชาการเพื่อตอบสนองความต้องการของ ประชากรกลุ่มเป้าหมาย C (Check) การติดตามและประเมินผลการดำเนิน โครงการ เพื่อจะได้ทราบว่าถึงผลกระทบในการ ดำเนินโครงการรวมทั้งปัญหาและอุปสรรคในการ ดำเนินการ A (Act) การนำข้อมูลที่ได้จากการติดตามและ ประเมินผลการดำเนินโครงการ มาทบทวนและปรับปรุงแก้ไขปัญหาและอุปสรรคเพื่อ นำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินการต่อไป

ความสำคัญและปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ 1. ความต่อเนื่องในการดำเนินการ 2. ระยะเวลาในการดำเนินการ 3. แหล่งงบประมาณ 4. การสร้างเครือข่ายความร่วมมือใน การบริการทางวิชาการ 5. เป็นผู้ฟัง ชักชวนให้ร่วมคิดร่วมทำ 6. เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา สร้างความ ตระหนักรู้ คุณค่าแห่งตน 7. ทำงานเป็นทีม 8. เชิดชูภูมิปัญญา

ปัญหา อุปสรรค 1. การพึ่งพาทรัพยากรของชุมชนมาก เกินไป 2. บุคลากรของมหาวิทยาลัย มีภาระงาน มากทำให้ขาดความต่อเนื่องในการบริการ วิชาการ 3. ความร่วมมือของผู้นำชุมชนหรือท้องถิ่น บางพื้นที่ขาดความร่วมมือ 4. การบูรณาการงานบริการวิชาการกับ งานวิจัยเพื่อให้ได้ องค์ความรู้ใหม่ๆยังมีน้อย 5. การประเมิลผลกระทบที่เกิดขึ้น สามารถ เข้าถึงข้อมูลได้ยาก

แนวทางแก้ไข แนวทางการ พัฒนาต่อไป 1. ลดการพึ่งพาทรัพยากรของท้องถิ่น 2. ลดภาระงานบุคลากรด้านอื่นให้น้อยลง 3. ส่งเสริมจูงใจสนับสนุนงบประมาณให้มี การบูรณาการ ( บริการวิชาการกับการวิจัย ) 4. สร้างเครือข่ายความร่วมมือ MOU ทำ แผนกิจกรรมร่วมกัน 5. วางแผนติดตามการประเมินผลกระทบที่ เกิดขึ้นกับชุมชนกลุ่มเป้าหมาย หลังจากจัด กิจกรรมเดือนละ 1 ครั้ง เป็นเวลา 3 เดือน