งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)

2 ประเมิน 3 ด้าน 13 ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดการประเมิน ประเมิน 3 ด้าน 13 ตัวชี้วัด 1.1 สร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร 1.2 การจัดการเรียนรู้ 1.2.1 การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ 1.2.2 การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้/แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)/แผนการสอนเฉพาะบุคคล (IIP)/แผนการจัดประสบการณ์ 1.2.3 กลยุทธ์ในการจัดการเรียนรู้ 1.2.4 คุณภาพผู้เรียน 1.3 การสร้างและการพัฒนา สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา และแหล่ง เรียนรู้ในการจัดการเรียนรู้ 1.4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 1.5 การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ 1. ด้านการจัดการเรียนการสอน (8 ตัวชี้วัด) 2. ด้านการบริหารจัดการชั้นเรียน (3 ตัวชี้วัด) 2.1 การบริหารจัดการชั้นเรียน 2.2 การจัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน 2.3 การจัดทำข้อมูลสารสนเทศ และเอกสารประจำชั้นเรียนหรือประจำวิชา 3. ด้านการพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพ (2 ตัวชี้วัด) 3.1 การพัฒนาตนเอง 3.2 การพัฒนาวิชาชีพ

3 เสนอความเห็น เสนอ ครบ 5 ปี ยื่นคำขอ ส่งผลงานทางวิชาการ ที่ปรับปรุงแล้ว แจ้งผู้ขอรับการประเมิน แจ้งส่วนราชการต้นสังกัด/ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แจ้งผู้ขอรับการประเมิน

4

5 การดำเนินการขอมีวิทยฐานะหรือเลื่อนวิทยฐานะตาม ว 21/2560
ในช่วงระยะเวลาเปลี่ยนผ่าน ผู้ขอรับการประเมินต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1. ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง/วิทยฐานะ ดำรงตำแหน่งครูหรือวิทยฐานะ ที่ดำรงอยู่ในปัจจุบัน เป็นเวลา 5 ปี ระยะเวลาย้อนหลัง 5 ปี ชนก./ชนพ. 4,000 ชม. ชช./ชชพ ,500 ชม. ต้องมี ชม. สอน/สัปดาห์ ตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด 2. ชั่วโมงการปฏิบัติงาน 3. วินัย คุณธรรม จริยธรรมฯ ไม่ถูกลงโทษทางวินัย/จรรยาบรรณวิชาชีพ ย้อนหลัง 5 ปี นับถึงวันที่ยื่นคำขอ ชนพ./ชช. -- ว 3/54 (ไม่หมดอายุ) ชนก./ชชพ. – ว 22/60 อบรม 20 ชม. ในปีที่ขอ 4. การพัฒนา ระยะเวลา 5 ปีการศึกษาย้อนหลัง - ประเมินตนเอง ตามแบบประเมินผลงานที่เกิดจาก การปฏิบัติหน้าที่ 3 ด้าน 13 ตัวบ่งชี้ - ประเมินรายปี รวม 5 ปีการศึกษา 5. ผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่

6 การพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ว 22/2560)
องค์ประกอบการพัฒนา ความรู้ ทักษะ ความเป็นครู Lifelong Learning Competency – Based Development 1. ครูต้องเข้ารับพัฒนาอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยมีการประเมินตนเองเพื่อวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นในการพัฒนา และนำผลการวิเคราะห์มาจัดทำแผนการพัฒนาตนเองเป็นรายปี 2. ต้องเข้ารับการพัฒนา ในหลักสูตรที่สถาบันคุรุพัฒนารับรอง ปีละไม่น้อยกว่า 12 ชม. แต่ไม่เกิน 20 ชม. และภายใน 5 ปี ต้องมีชั่วโมง การพัฒนา จำนวน 100 ชม. ถ้ารวมแล้วไม่ถึง 100 ชม. สามารถนำชั่วโมง PLC ส่วนที่เกิน 50 ชั่วโมงในแต่ละปี มานับรวมได้ 3. ต้องเข้ารับการพัฒนา ครบ 3 องค์ประกอบในแต่ละปี และเพื่อให้มีคุณลักษณะที่คาดหวังตามมาตรฐานวิทยฐานะ ที่จะขอรับการประเมิน และสามารถนำผลการพัฒนามาใช้เป็นคุณสมบัติในการขอมีหรือเลื่อนวิทยฐานะ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ. กำหนดใหม่ได้ โดยไม่ต้องพัฒนาก่อนการแต่งตั้งอีก

7 คุณลักษณะที่คาดหวัง วิทยฐานะครูเชี่ยวชาญพิเศษ
ความรู้ : เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความก้าวหน้าทางวิชาชีพ ทักษะ : เป็นผู้นำการพัฒนานวัตกรรมที่สร้างผลกระทบทางวิชาชีพ ความเป็นครู : เป็นผู้นำการพัฒนาความเป็นครูที่ดีในวงวิชาชีพ คุณลักษณะที่คาดหวัง ตามมาตรฐานวิทยฐานะ ที่ ก.ค.ศ. กำหนด วิทยฐานะครูเชี่ยวชาญ ความรู้ : บริหารจัดการให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแก่เพื่อนร่วมวิชาชีพ ทักษะ : พัฒนานวัตกรรมให้เป็นต้นแบบการเรียนรู้แก่เพื่อนร่วมวิชาชีพ ความเป็นครู : ส่งเสริมการพัฒนาความเป็นครูที่ดีแก่เพื่อนร่วมวิชาชีพ วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ ความรู้ : นำผลการพัฒนาการเปลี่ยนแปลงสู่ผู้เรียน ทักษะ : สร้างนวัตกรรมจากการปฏิบัติที่ส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียน ความเป็นครู : เป็นแบบอย่างการพัฒนาความเป็นครูที่ดี วิทยฐานะครูชำนาญการ ความรู้ : เรียนรู้เพื่อเปลี่ยนแปลงตนเอง ทักษะ : บูรณาการความรู้สู่การปฏิบัติ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียนได้เต็มตามศักยภาพ ความเป็นครู : พัฒนาตนเองเพื่อให้มีความเป็นครูที่ดี


ดาวน์โหลด ppt การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google