การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนศักดิ์ จิณะวงค์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
Advertisements

การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรูปแบบการจำลอง การอ่านค่าเวอร์เนียคาลิปเปอร์ วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น ระดับชั้น ปวช.1.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ
นายภิรักษ์ คำศรี ชื่อผลงานวิจัย : ชื่อผู้วิจัย :
การเสริมสร้างประสิทธิภาพในการใช้โปรแกรมสำนักงานของผู้เรียนอาชีวศึกษา
การเปรียบเทียบความคงทนในบทเรียนระหว่าง วิธีการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองกับวิธีการแบบบรรยาย นุชดา ลาทอง.
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
ผู้เสนอ นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
นางสาวทศพร ปินตาสม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่


การศึกษาความพึงพอใจ ของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีโป ลิเทคนิคลานา เชียงใหม่ ต่ออาจารย์ผู้สอนตามความคิดเห็น ของนักศึกษา.
นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
นางสาวสาวิตรี โยธาจันทร์ คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ปัญหาการวิจัย : 1. การพัฒนาของ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อเป็น แนวทางการศึกษาแบบใหม่ 2. พัฒนาทักษะและชักจูงความ สนใจของนักศึกษาให้สนใจต่อการ เรียนให้มากขึ้น.
นายเจตวัฒน์ สมเจริญเกียรติ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียน วิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 โดยใช้สื่อ Power Pointของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาสถิติเบื้องต้นเรื่องทฤษฎีความน่าจะเป็น เบื้องต้น Development of Computer Assisted Instruction for Introduction to.
นางนุชจรินทร์ แก้ววงวาล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่

วิจัยเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาธุรกิจทั่วไป
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ในรายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ ด้วยวิธี เพื่อนช่วยเพื่อน ผู้วิจัย นาง นุสรา ปิยะศาสตร์ ตำแหน่ง ครูผู้สอน วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา.
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง
The Students’ Opinion on Learning Management of Report Financial Analysis Course นายวิทยา ยิ่งนคร ผู้วิจัย บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ( การบัญชี ) วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรบริหารธุรกิจ.

นำเสนอโดย นางสาวพัชรี นาคทอง
กิตติญา ยังเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
การออกแบบนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้กระบวนการคิด
นางสุภาภรณ์ หงษ์ สุวรรณ วิทยาลัย อาชีวศึกษาดุสิต พณิชยการ นำเสนอ ประเภทที่ 1 วิจัยการเรียนการ สอน ( วิจัยชั้นเรียน ) นำเสนอ การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media)
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
กิจกรรมการเรียนการสอน ที่หลากหลาย เพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน วิชา กฎหมายแรงงานและ การประกันสังคม ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาสื่อการสอนเรื่องวงกลม โดยใช้ โปรแกรม The Geometer’ s Sketchpad (GSP) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2 ผู้วิจัย นางสาวอังสนา อุตมูล.
วัตถุประสงค์การวิจัย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
นางสาวปัณยตา หมื่นศรี
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
การนำเสนอผลงานการวิจัย
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย ศุภลักษณ์ พูลเกษม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
นางอัชฌา เพ็งพินิจ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
การนำเสนอผลงานวิจัยและนวัตกรรมสื่อการสอนทางอาชีวศึกษา ครั้งที่ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ CAI

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา สื่อการสอนขาดความน่าสนใจ ผู้เรียนไม่สามารถทบทวนความรู้ได้ด้วยตนเอง ความแตกต่างกันระหว่างบุคคล

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 2. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียน

ด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย ขอบเขตของการวิจัย ด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย กลุ่มประชากร กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม

ขอบเขตของการวิจัย (ต่อ) ด้านตัวแปรที่ศึกษา ประกอบด้วย ตัวแปรต้น (Independent Variable) ตัวแปรตาม (Dependent Variable)

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 1.ผลการหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวนนักเรียน ค่าคะแนนเฉลี่ย(E1) คะแนนจากแบบทดสอบท้ายบทเรียน ค่าคะแนนเฉลี่ย(E2) คะแนนจากแบบทดสอบ คะแนนเต็ม คะแนนรวมเฉลี่ย ร้อยละ(%) 30 10 8.20 82 20 16.47 82.35

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ) 2.ผลการศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ของกลุ่มทดลองที่เรียนโดยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน และกลุ่มควบคุมที่เรียนโดยวิธีปกติ คะแนนวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคอมพิวเตอร์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) กลุ่มตัวอย่าง n S.D. t p กลุ่มทดลอง 30 16.47 1.65 7.85** .00** กลุ่มควบคุม 13.17 1.59

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ) 3.ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียน โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 การแปลความหมายของคะแนนเฉลี่ย ระดับคะแนนเฉลี่ย 4.51 – 5.00 หมายถึง มีความพอใจมากที่สุด ระดับคะแนนเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายถึง มีความพอใจมากที่สุด ระดับคะแนนเฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมายถึง มีความพอใจมากที่สุด ระดับคะแนนเฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายถึง มีความพอใจมากที่สุด ระดับคะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.50 หมายถึง มีความพอใจมากที่สุด

คะแนนความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่าง รายการประเมิน คะแนนความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่าง S.D. ระดับ 1 เร้าความสนใจ 4.27 0.45 มาก 2 โครงสร้างเนื้อหาชัดเจน 3 ความถูกต้องถามหลักสูตร 4 สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ 4.50 0.50 5 ความยากง่ายเหมาะสมกับผู้เรียน 6 ใช้ภาษาถูกต้อง เหมาะสมกับวัยผู้ของเรียน 4.23 0.43 7 สื่อความหมายได้ชัดเจนเหมาะสมกับบริบทของเนื้อหา 4.77 มากที่สุด 8 เนื้อหามีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกัน 3.77 9 มีความยืดหยุ่น สนองความแตกต่างระหว่างบุคคล 4.73 10 ลำดับเนื้อหาและแบบฝึกได้เหมาะสม 4.00 0.00 11 กลยุทธ์การถ่ายทอดเนื้อหาสนใจ 12 กลยุทธ์การประเมินผลเหมาะสม ตรงตามวัตถุประสงค์ 13 ออกแบบหน้าจอเหมาะสม ง่ายต่อใช้ สัดส่วนเหมาะสมสวยงาม 14 ขนาดสี ตัวอักษร ชัดเจน สวยงาม อ่านง่ายเหมาะสมกับผู้เรียน 15 ภาพกราฟิกเหมาะสม ชัดเจน สอดคล้องกับเนื้อหา 16 คุณภาพการใช้เสียงประกอบบทเรียนเหมาะสม ชัดเจนน่าสนใจ 17 การออกแบบปฏิสัมพันธ์ใช้โปรแกรมง่าย สะดวก โต้ตอบกับผู้เรียนอย่างสม่ำเสมอ 18 การให้ผลป้อนกลับ เสริมแรง/ให้ความช่วยเหลือเหมาะสมตามความจำเป็น 3.73 19 มีกิจกรรมที่สามารถตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียน (ที่ทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย) 20 ท่านมีความพึงพอใจในภาพรวมต่อบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์อยู่ในระดับใด คะแนนเฉลี่ย 4.24 0.36

สรุปผลการวิจัย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพของบทเรียน 82/82.35 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 75/75 1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ของกลุ่มทดลองที่เรียนรู้โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสูงกว่ากลุ่มควบคุมที่เรียนด้วยวิธีปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2 ระดับความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สร้างขึ้นมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.24 ซึ่งอยู่ในระดับความพึงพอใจมาก 3

เพิ่มเทคนิคในการนำเสนอข้อมูล ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะ ควรพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ให้รองรับกับระบบปฏิบัติการที่หลากหลายขึ้นเพื่อลดขีดจำกัดทางด้านซอฟต์แวร์ ศึกษาการใช้งานโปรแกรมที่ใช้สร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพิ่มเติมเพื่อ เพิ่มความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น เพิ่มเทคนิคในการนำเสนอข้อมูล

ขอบคุณครับ