การจัดการเรียนรู้โดยใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ต่างๆในรายวิชา(239224)ภาษาญี่ปุ่นปัจจุบัน 4 (CONTEMPORARY JAPANESE IV)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้วิจัย นางนันทา สุพจน์เฉลิมขวัญ
Advertisements

การใช้เกมการศึกษาในการพัฒนาทักษะการจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 2 สาขายานยนต์ (ชย.2101) วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ ผู้วิจัย ถาวร ประรงค์ทอง.
ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรายวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษ 1 ของนักเรียน
เอื้อมพร ธาตุทำเล.
การเปรียบเทียบความคงทนในบทเรียนระหว่าง วิธีการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองกับวิธีการแบบบรรยาย นุชดา ลาทอง.
ผลการสำรวจปัญหา การใช้นวัตกรรมและ เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการเรียนการสอน.
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
น.ส.วันวิสาข์ วรรณภิระ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
ผู้เสนอ นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ

คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
พฤติกรรมการสอนคณิตศาสตร์ (Teaching Behavior in Mathematics)
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การปรับพฤติกรรมการเรียนในชั้นเรียนและการส่งงาน ของนักเรียนห้องการท่องเที่ยว 3/1 รายวิชาการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ นางสาวสุคนทิพย์ ทองจันทร์แก้ว สถานศึกษาที่สังกัด.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นายมงคล ธัญฤชุพงศ์ ผู้วิจัย
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
นางนุชจรินทร์ แก้ววงวาล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิจัยเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาธุรกิจทั่วไป
ครูผู้สอนกลุ่มธุรกิจ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ในรายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ ด้วยวิธี เพื่อนช่วยเพื่อน ผู้วิจัย นาง นุสรา ปิยะศาสตร์ ตำแหน่ง ครูผู้สอน วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา.
The Students’ Opinion on Learning Management of Report Financial Analysis Course นายวิทยา ยิ่งนคร ผู้วิจัย บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ( การบัญชี ) วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรบริหารธุรกิจ.

นำเสนอโดย นางสาวพัชรี นาคทอง
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
การออกแบบนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้กระบวนการคิด
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
กระบวนการของการอธิบาย
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media)
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
กิจกรรมการเรียนการสอน ที่หลากหลาย เพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน วิชา กฎหมายแรงงานและ การประกันสังคม ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์
8 สิงหาคม ศิลปะยืนยาว... ชีวิต สั้น _files.
กลุ่ม การจัดการความรู้ ช่างอากาศ (KM) หน่วยงาน ฝ่ายการช่าง ฝูงบิน 461 กองบิน 46 คำขวัญ “ มุ่งหน้าแก้ไขข้อขัดข้อง เพื่อตอบสนองภารกิจ ”
INTRODUCE SUBJECT สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
สรุปผลการอบรม หลักสูตรการพัฒนาการ จัดการเรียนการสอน ด้านการวัดและ ประเมินผล จารุนันท์ สมบูรณ์สิทธิ์
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
โครงงานจิตอาสา เรื่อง … เล่านิทานให้น้องฟัง จัดทำโดย กลุ่มจิตอาสา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ / ๓.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วัตถุประสงค์การวิจัย
บทที่ 6 การพัฒนาระบบการสอนบนเครือข่าย
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
Instruction design แผนจัดการเรียนรู้ Active Learning
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
แนวทางจัดทำเอกสารประกอบการสอน เพิ่มเติม อีกรูปแบบ
Aj.Dr. Bualak Naksongkaew
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การนำเสนอผลงานวิจัยและนวัตกรรมสื่อการสอนทางอาชีวศึกษา ครั้งที่ 8
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
ช่องทางการติดต่อสื่อสาร
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการเรียนรู้โดยใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ต่างๆในรายวิชา(239224)ภาษาญี่ปุ่นปัจจุบัน 4 (CONTEMPORARY JAPANESE IV)

ขั้นตอนหรือกิจกรรม การเรียนการสอน

เรียนไวยากรณ์จากง่ายไปยากตามลำดับขั้น เรียนศัพท์โดยใช้ภาพในการจำ และให้ฝึกออกเสียงคำศัพท์นั้นๆ โดยการพูดทบทวนซ้ำๆหลายรอบ จับคู่ช่วยกันทบทวน ผู้เรียนทบทวนคำศัพท์ เรียนไวยากรณ์จากง่ายไปยากตามลำดับขั้น ผู้สอนจะสมมติเหตุการณ์หนึ่งขึ้นมา เพื่อโยงเข้าสู่เนื้อหาที่จะเรียนในบทนั้นๆ

ทบทวนคำศัพท์และไวยากรณ์ทั้งหมดที่ได้เรียนมา เป็นรายบุคคล จากเรื่องที่เรียนไป ผู้สอนได้กำหนดคำถาม ประเด็นปัญหามาให้ โดยให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มช่วยกันแต่งบทสนทนาขึ้นมาเอง ผู้เรียนออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียน ทบทวนคำศัพท์และไวยากรณ์ทั้งหมดที่ได้เรียนมา เป็นรายบุคคล ฝึกพูดออกเสียง แสดงสถานการณ์สมมติหน้าชั้นเรียน ดูวีดีโอสถานการณ์สมมติในการใช้คำศัพท์และไวยากรณ์นั้นๆ

ฝึกฟัง และตอบคำถาม ทำแบบฝึกหัด ทดสอบท้ายบทเพื่อวัดความรู้ความเข้าใจ ผู้สอนแจ้งเนื้อหาที่จะเรียนในคาบต่อไป

บทบาทครู เป็นผู้สร้างสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนสามารถรับสารไปเก็บไว้ในหน่วยความจำได้ในปริมาณมาก เป็นผู้เตรียมข้อมูล และให้ข้อมูลเพื่อถ่ายทอดสู่ตัวผู้เรียน ตั้งคำถาม และกระตุ้นให้ผู้เรียนคิดหาคำตอบด้วยตนเอง เพาเวอร์พอยต์ วิดีโอ ภาพ

บทบาทผู้เรียน เป็นผู้รับข้อมูลความรู้จากผู้สอน จัดเก็บรวบรวมความรู้ในหน่วยความจำด้วยตนเองโดยมีผู้สอนเป็นผู้ช่วยกระตุ้น คิดวิเคราะห์ และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง

การใช้สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการเรียนการสอน การใช้สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการเรียนการสอน สื่อเพาเวอร์พอยต์ ตัวหนังสือน้อยเข้าใจง่าย ใช้รูปภาพต่างๆเพื่อให้นักศึกษาเข้าใจมากยิ่งขึ้น มีการใช้สี การเน้นคำต่างๆ ในการเน้นจุดที่สำคัญเพื่อเพิ่มความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น

สื่อวิดีโอ ใช้ฉายวีดีโอ เครื่องฉายโปรเจ็คเตอร์ ใช้ฉายสื่อเพาเวอร์พอยต์ ใช้ฉายใบงานและหนังสือเพื่อให้ทุกคนเห็นได้ชัด ใช้ฉายวีดีโอ สื่อวิดีโอ ผู้สอนให้ผู้เรียนดูวิดีโอเป็นสถานการณ์สมมติ ในการใช้คำศัพท์ และไวยากรณ์ในบทนั้นๆ

เทป ไมค์โครโฟน ผู้สอนเปิดเทปให้ผู้เรียนฝึกฟังจากเจ้าของภาษา ใช้ขยายเสียงของผู้สอน และสื่อที่ใช้เสียงเพื่อให้ผู้เรียนได้ยินทุกคน

วิเคราะห์ว่าการเรียนการสอนในชั้นเรียนที่ไปสังเกต สอดคล้องกับทฤษฎีใดบ้าง

แนวคิดพฤติกรรมนิยม(Behaviorism) ผู้สอนเตรียมขั้นตอนการสอนมาแล้วสอนตามขั้นตอน โดยการสอนนั้นเริ่มจากขั้นตอนที่ง่ายไปขั้นตอนที่ยาก ผู้สอนถ่ายทอดข้อมูล เนื้อหาในบทเรียนให้กับผู้เรียน ผู้สอนให้ผู้เรียนดูตามหนังสือที่เรียนและผู้สอนมีภาพประกอบพาอ่านและฝึกออกเสียง จากนั้นให้เวลาผู้เรียนจำ ผู้สอนก็จะทวนซ้ำและมีการทดสอบผู้เรียน โดยการให้ตอบคำถามรายบุคคล

แนวคิดพฤติกรรมนิยม(Behaviorism) เมื่อผู้เรียนไม่ตั้งใจเรียน พูดคุยกัน หรือใช้โทรศัพท์ในระหว่างที่เรียน ผู้สอนก็จะเรียกให้ตอบคำถามและผู้สอนก็ดุใส่และบอกให้ตั้งใจเรียน ผู้สอนสั่งการบ้าน แล้วตรวจเช็คข้อผิด ถูก ผู้สอนให้ทำแบบทดสอบหลังเรียนของแต่ละบทและนำมาสะท้อนผลในชั้นเรียน

แนวคิดทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม(cognitivism) เมื่อผู้สอนสอนบทสนทนาภาษาญี่ปุ่นจะมีการนำวิดีโอมาเปิดให้ผู้เรียนดู เพื่อให้เห็นเห็นภาพและสามารถที่จะจดจำบทสนทนานี้ได้ จากนั้นก็ให้ลองมาฝึกทดสอบหน้าชั้นเรียน ในการสอนขั้นแรก ผู้สอนจะใช้บัตรคำศัพท์ที่เป็นรูปภาพ โดยให้ผู้เรียนออกเสียงตามและจินตนาการตามและพยายามให้ผู้เรียนจดจำให้ได้

แนวคิดทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม(cognitivism) เมื่อผู้สอนสอนหลักไวยกรณ์สอนโดยใช้ Power Point โดยผู้สอนก็จะเน้นคำหรือรูปแบบไวยากรณ์ให้เห็นชัดเพื่อให้ผู้เรียนจำได้ง่ายขึ้น ผู้สอนมีการใช้เพลงในการสอนเพื่อนให้ผู้เรียนจดจำเนื้อหาได้ง่ายขึ้น

แนวคิดคอนสตรัคติวิสต์(constructivism) ผู้สอนแบ่งผู้เรียนเป็นกลุ่ม และให้แต่งประโยคสนทนาภาษาญี่ปุ่นในบริบทต่างๆกันภายในกลุ่ม

สมาชิกในกลุ่ม 1.นางสาวเสาวรส เชียงทา(563050212-7) 1.นางสาวเสาวรส เชียงทา(563050212-7) 2.นางสาวชลิตติญา ทาทอง(563050307-6) 3.นางสาวนันทิพร มิ่งขวัญ(563050447-0) 4.นางสาวปรียาภรณ์ อันทะรักษ์(563050448-8) นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาการสอนภาษาญี่ปุ่น คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ภาคการศึกษาที่ 2/2557

ขอบคุณค่ะ