in the Second Semester of 2013

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการนำเข้าและการส่งออกของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด โดยใช้แบบฝึกด้วยเทคนิคการเขียนแผนผังความคิด.
Advertisements

การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
พัฒนศักดิ์ จิณะวงค์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย นางดวงใจ สารภี อาจารย์กลุ่มวิชาบัญชี
นายภาณุวัฒน์ วงศ์เทพเตียน
การใช้เกมการศึกษาในการพัฒนาทักษะการจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 2 สาขายานยนต์ (ชย.2101) วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ผู้วิจัย นางสาวมัตติกา ขวัญใจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ
ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรายวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษ 1 ของนักเรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
ปี 2 ห้อง 1 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
ชื่อเรื่อง พฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนไม่ ตรงต่อเวลาในวิชาการพัฒนางานด้วย ระบบ คุณภาพ - และ เพิ่มผลผลิต ของนักศึกษา ชั้น ปวส ปีที่ 1 ผู้วิจัย นางสาววัชราภรณ์
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของผู้สำเร็จการศึกษา สาขาวิชาพณิชยการและ การจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.) ตามความต้องการของ สถานประกอบการ.

วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
นางลัดดาวรรณ คงพูล อาจารย์ประจำสาขาวิชาสามัญและพื้นฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
นางสาวทศพร ปินตาสม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่

ชื่อผู้วิจัย ณัฐฌา แรกขึ้น สถานศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนา พณิชยการเชียงใหม่
การใช้โครงงานภาษาอังกฤษ เรื่อง
นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
นางสาวสาวิตรี โยธาจันทร์ คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานประกอบการต่อการฝึกงานของนักศึกษา ระดับปวส
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้หนังสืออ่านนอกเวลา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่1 แผนกเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาสถิติเบื้องต้นเรื่องทฤษฎีความน่าจะเป็น เบื้องต้น Development of Computer Assisted Instruction for Introduction to.
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
นางสาวณัฐกานต์ ภิรมณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
The Students’ Opinion on Learning Management of Report Financial Analysis Course นายวิทยา ยิ่งนคร ผู้วิจัย บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ( การบัญชี ) วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรบริหารธุรกิจ.
การใช้แบบฝึกทักษะเกม Spelling Bee เพื่อพัฒนาความสามารถในการสะกด คำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 (ปวช.1) สาขา เทคนิคคอมพิวเตอร์

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
อาจารย์ประจำสาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การศึกษาพฤติกรรมการส่งงานของนักเรียนชั้น ปวช.ปีที่ ๒ สาขาการบัญชี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนให้เป็นผู้มีวินัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีสาร สาสน์ Sarasas Technological College นางสาวธัชชา สิงควะ นิช 2558.
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
การนำเสนอผลงานการวิจัย
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงเสียงท้าย - ts , st
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
ผู้วิจัย นายกัมพล ติปิน วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิธีการแก้ปัญหาการอธิบายกลไกลการทำงานเกียร์ขับเคลื่อนล้อหลัง 5 สปีด
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

in the Second Semester of 2013 Self Directed Learning Readiness among the Second Year Diploma Students of Lanna Polytechnic Chiangmai Technological College in the Second Semester of 2013 ระดับความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูงปีที่ 2 ของวิทยาลัยเทคโนโลยี โปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 นางสาวจันทนี กันโฑ

ที่มาและความสำคัญของปัญหา ยุคแห่งเทคโนโลยีและข่าวสาร การเปิดประชาคมอาเซียน นักศึกษามีการออกฝึกงาน พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนที่เหมาะสม ส่งเสริมการเรียนรู้นอกห้องเรียน

วัตถุประสงค์ สมมติฐานในงานวิจัย เพื่อศึกษาระดับความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยตนเองของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ของวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 สมมติฐานในงานวิจัย นักศึกษามีความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยตนเอง อยู่ในระดับปานกลางขึ้นไป

แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Directed Learning Readiness : SDLR) จาก Guglielmino ปี 1977 การเปิดโอกาสในการเรียนรู้ มโนคติของตนเองในการเป็นผู้เรียนที่มีประสิทธิภาพ ความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของตนเอง ความรักในการเรียนรู้ การมองอนาคตในแง่ดี ความสามารถใช้ทักษะในการศึกษาหาความรู้ และทักษะการแก้ไขปัญหา ความริเริ่มและอิสระในการเรียนรู้ ความคิดสร้างสรรค์

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบสอบถามเชิงปริมาณ ลักษณะของแบบสอบถามเป็นข้อความแบบตรวจรายการจำนวน 34 ข้อ และมาตรวัดประมาณค่าจำนวน 5 ระดับ โดยดัดแปลงมาจากแบบวัดระดับความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยตนเองของ Guglielmino 1997

รูปแบบการวิจัย การรวบรวมข้อมูล เป็นการวิจัยในเชิงปริมาณ โดยเน้นมุ่งศึกษาระดับความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 การรวบรวมข้อมูล การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงทดลองกับกลุ่มเป้าหมาย 1 กลุ่ม โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ ให้ได้จำนวนนักศึกษาระดับปวส. 2 จำนวน 100 คน จากทุกสาขา

ตัวแปร ตัวแปรต้น ได้แก่ การเปิดโอกาสในการเรียนรู้ ตัวแปรต้น ได้แก่ การเปิดโอกาสในการเรียนรู้ มโนคติของตนเองในการเป็นผู้เรียนที่มีประสิทธิภาพ ความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของตนเอง ความรักในการเรียนรู้ การมองอนาคตในแง่ดี ความสามารถใช้ทักษะในการศึกษาหาความรู้และทักษะการแก้ไขปัญหา ความริเริ่มและอิสระในการเรียนรู้ ความคิดสร้างสรรค์ ตัวแปรตาม ได้แก่ ระดับความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักศึกษา

สรุป ผลการวิจัย ผลการศึกษาการระดับความพร้อมในการเรียนรู้นักศึกษาระดับชั้น ปวส. ชั้นปีที่ 2 สามารถสรุปผลการวิจัยได้ดังนี้ คือ นักศึกษามีระดับความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยตนเองอยู่ในระดับปานกลาง (3.31)

อภิปรายผลการศึกษา การสำรวจระดับความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักศึกษาชั้น ปวส. ปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 ทำให้นักศึกษามีการตระหนักถึงความสำคัญในการเรียนรู้ด้วยตนเอง เนื่องจากเป็นการเรียนรู้รูปแบบใหม่ที่ไม่จำกัดแค่ในห้องเรียนหรือภายในสถานศึกษา เพราะปัจจุบันนี้เป็นโลกแห่งเทคโนโลยี มนุษย์สามารถหาความรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา นอกจากนี้การเรียนรู้ด้วยตนเองนั้นยังส่งผลให้นักศึกษาใช้เวลาว่างได้อย่างมีประโยชน์ เพราะแหล่งการเรียนรู้ไม่ได้มีแค่ตำราเรียนหรือในสถานศึกษาเท่านั้น

ข้อเสนอแนะและประโยชน์ของการศึกษา ข้อเสนอแนะในการเรียนการสอน ผู้สอนควรกระตุ้นให้นักศึกษาศึกษาหาความรู้จากแหล่งเพิ่มเติมให้มากขึ้น เช่น แนะนำเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่เรียน หนังสือ หรือบุคคลที่มีความเชี่ยวชาญในเรื่องที่นักศึกษาสนใจ รวมถึงสื่อต่างๆ ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยครั้งต่อไป ควรทำการศึกษาในเรื่องของปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อ การเรียนรู้ด้วยตนเองของนักศึกษา ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบระดับความพร้อมใน การเรียนรู้ของนักศึกษาให้ครบทุกชั้นปี