แบบสอบถาม (Questionnaire)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้วิจัยโดย นางสาวกุลธิดา มีสัตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญภิวัฒน์
Advertisements

ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การประเมินรายงาน การวิจัย (An Evaluation of Research Report) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์พีระ ครึกครื้น จิตร ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.
ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรายวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษ 1 ของนักเรียน
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การเขียนโครงร่างวิจัย
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของผู้สำเร็จการศึกษา สาขาวิชาพณิชยการและ การจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.) ตามความต้องการของ สถานประกอบการ.
การกำหนดปัญหาใน การวิจัย 1. แหล่งที่มาของปัญหา วิจัย 2. การวิเคราะห์ปัญหาวิจัย 3. การประเมินหัวข้อ ปัญหาที่จะทำวิจัย.
ความคิดรวบยอดสอนอย่างไร : การใช้คำถาม การตั้งคำถามที่จัดลำดับ คำถามเป็นชุด เป็นสิ่งสำคัญมากต่อการพัฒนา ความคิดรวบยอด.
การศึกษาความพึงพอใจ ของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีโป ลิเทคนิคลานา เชียงใหม่ ต่ออาจารย์ผู้สอนตามความคิดเห็น ของนักศึกษา.
ข้อมูลและประเภทของข้อมูล
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ความรู้พื้นฐานทางสถิติ
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
การวัด Measurement.
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )

. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
การออกแบบนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้กระบวนการคิด
กรณีศึกษาของเยาวชนที่กระทำความผิดคดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัย โยธิน จารุจุฑารัตน์ หลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
หลักสูตร วิทยากรแนว ปฏิบัติ การใช้แรงงานที่ดี (Training of Trainer : TOT) โดย กรวรรณ จงสถาพรพันธ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบ มาตรฐานแรงงาน 1.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ความพึงพอใจต่อการบริหาร จัดการโครงการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงด้วยวิธีการ เรียนรู้แบบศึกษาดูงาน บริหารธุรกิจสาขาการจัดการ / การตลาด ภาคเรียนที่ 2/2556.
การเลือกใช้เกมหรือ กิจกรรม ในการฝึกอบรม. การฝึกอบรม การเปลี่ยนแปลงพัฒนาคนใน ด้าน ความรู้ (Knowledge) ความเข้าใจ (Understand) ทักษะ (Skill) ทัศนคติ (Attitude)
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
รูปแบบการเขียนบทที่ 3.
แผนกการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
การวิจัยเพื่อพัฒนา การเรียนการสอน
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
เปิดบ้าน ชื่อโรงเรียน วันที่.
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559
การนำเสนอผลงานการวิจัย
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
บทที่ 6 การรวบรวมข้อมูล.
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
การนำเสนอผลงานวิจัยและนวัตกรรมสื่อการสอนทางอาชีวศึกษา ครั้งที่ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
Miniresearch งานผู้ป่วยนอก.
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
วิธีการแก้ปัญหาการอธิบายกลไกลการทำงานเกียร์ขับเคลื่อนล้อหลัง 5 สปีด
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แบบสอบถาม (Questionnaire) เครื่องมือที่ใช้สำหรับเก็บรวบรวมข้อมูลจากประชากรหรือกลุ่มตัวอย่างในเรื่องต่างๆ เช่น ข้อเท็จจริง ความคิดเห็น ความรู้สึก เจตคติ ความพึงพอใจ โดยให้กลุ่มเป้าหมายตอบคำถามในแบบสอบถาม

แบบสอบถาม แบบสอบถามคือการแปลงวัตถุประสงค์ของการวิจัยออกเป็นคำถามที่เฉพาะเจาะจง และคำตอบที่ใช้จะเป็นข้อมูลสำหรับการทดสอบสมมุติฐาน

ลักษณะของประชากร/กลุ่มตัวอย่าง การสร้างแบบสอบถาม ลักษณะของประชากร/กลุ่มตัวอย่าง ลักษณะของข้อมูล (ความลับ หรือเรื่องส่วนตัว ค่านิยม หรือภาพพจน์) ความสั้นยาวของแบบสอบถาม

การเรียงลำดับคำถาม (ความสำคัญและมีเหตุมีผล ไม่วกวน) ผู้ใช้แบบสอบถาม หรือผู้เก็บข้อมูล โดยเฉพาะการสัมภาษณ์ บรรยากาศหรือสิ่งแวดล้อมขณะการเก็บข้อมูล

เนื้อหาของคำถาม รูปแบบของคำถาม องค์ประกอบของคำถาม ข้อเท็จจริง ความรู้สึกหรือทัศนคติ รูปแบบของคำถาม

-เลือกคำตอบเดียว/หลายคำตอบ -การเรียงลำดับความสำคัญ รูปแบบของคำถาม คำถามปลายเปิด คำถามปลายปิด -เลือกคำตอบเดียว/หลายคำตอบ -การเรียงลำดับความสำคัญ -แบบมาตราส่วนประมาณค่า

คำถามเกี่ยวกับข้อเท็จจริง สำหรับรวบรวมข้อมูลผู้ตอบเกี่ยวกับภูมิหลัง สภาพแวดล้อม อุปนิสัย และอื่นๆ เช่น ที่อยู่ เพศ อายุ สภาพสมรส การศึกษา เศรษฐกิจ ฐานะทางสังคม เพื่อประโยชน์ในการอธิบายทัศนคติและพฤติกรรม

ข้อระวังในการตั้งคำถาม ผู้ตอบไม่รู้ข้อมูลนั้น ผู้ตอบจำข้อมูลไม่ได้ ผู้ตอบไม่เข้าใจคำถาม ผู้ตอบอาจลังเลที่จะต้อง

คำถามเกี่ยวกับความรู้สึก ความรู้สึกส่วนบุคคลได้แก่ ความเห็น ทัศนคติ ความเชื่อ และอุดมการณ์ ของบุคคลในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง

การเลือกคำถามวัดทัศนคติ ข้อความสั้นไม่ยุ่งยาก ตรงไปตรงมา ข้อความชัดเจน ไม่คลุมเคลือ ข้อความที่มีความหมายเดียว หลีกเลี่ยงคำถามที่เป็นค่านิยมทางสังคม น่าสนใจ

ลิเคิทสเกล (Likert scale) วิธีการวัดทัศนคติที่ใช้กันมาก โดยข้อความแต่ละข้อจะมีทางเลือกตอบได้ 5 ระดับ (1-5) การให้คะแนนขึ้นอยู่ลักษณะข้อความ

ขั้นตอนการสร้างแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลที่ต้องการ ศึกษาวิธีสร้างแบบสอบถาม ร่างแบบสอบถาม ให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจ ทดลองใช้และปรับปรุง พิมพ์แบบสอบถามฉบับจริง