แบบสอบถาม (Questionnaire) เครื่องมือที่ใช้สำหรับเก็บรวบรวมข้อมูลจากประชากรหรือกลุ่มตัวอย่างในเรื่องต่างๆ เช่น ข้อเท็จจริง ความคิดเห็น ความรู้สึก เจตคติ ความพึงพอใจ โดยให้กลุ่มเป้าหมายตอบคำถามในแบบสอบถาม
แบบสอบถาม แบบสอบถามคือการแปลงวัตถุประสงค์ของการวิจัยออกเป็นคำถามที่เฉพาะเจาะจง และคำตอบที่ใช้จะเป็นข้อมูลสำหรับการทดสอบสมมุติฐาน
ลักษณะของประชากร/กลุ่มตัวอย่าง การสร้างแบบสอบถาม ลักษณะของประชากร/กลุ่มตัวอย่าง ลักษณะของข้อมูล (ความลับ หรือเรื่องส่วนตัว ค่านิยม หรือภาพพจน์) ความสั้นยาวของแบบสอบถาม
การเรียงลำดับคำถาม (ความสำคัญและมีเหตุมีผล ไม่วกวน) ผู้ใช้แบบสอบถาม หรือผู้เก็บข้อมูล โดยเฉพาะการสัมภาษณ์ บรรยากาศหรือสิ่งแวดล้อมขณะการเก็บข้อมูล
เนื้อหาของคำถาม รูปแบบของคำถาม องค์ประกอบของคำถาม ข้อเท็จจริง ความรู้สึกหรือทัศนคติ รูปแบบของคำถาม
-เลือกคำตอบเดียว/หลายคำตอบ -การเรียงลำดับความสำคัญ รูปแบบของคำถาม คำถามปลายเปิด คำถามปลายปิด -เลือกคำตอบเดียว/หลายคำตอบ -การเรียงลำดับความสำคัญ -แบบมาตราส่วนประมาณค่า
คำถามเกี่ยวกับข้อเท็จจริง สำหรับรวบรวมข้อมูลผู้ตอบเกี่ยวกับภูมิหลัง สภาพแวดล้อม อุปนิสัย และอื่นๆ เช่น ที่อยู่ เพศ อายุ สภาพสมรส การศึกษา เศรษฐกิจ ฐานะทางสังคม เพื่อประโยชน์ในการอธิบายทัศนคติและพฤติกรรม
ข้อระวังในการตั้งคำถาม ผู้ตอบไม่รู้ข้อมูลนั้น ผู้ตอบจำข้อมูลไม่ได้ ผู้ตอบไม่เข้าใจคำถาม ผู้ตอบอาจลังเลที่จะต้อง
คำถามเกี่ยวกับความรู้สึก ความรู้สึกส่วนบุคคลได้แก่ ความเห็น ทัศนคติ ความเชื่อ และอุดมการณ์ ของบุคคลในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
การเลือกคำถามวัดทัศนคติ ข้อความสั้นไม่ยุ่งยาก ตรงไปตรงมา ข้อความชัดเจน ไม่คลุมเคลือ ข้อความที่มีความหมายเดียว หลีกเลี่ยงคำถามที่เป็นค่านิยมทางสังคม น่าสนใจ
ลิเคิทสเกล (Likert scale) วิธีการวัดทัศนคติที่ใช้กันมาก โดยข้อความแต่ละข้อจะมีทางเลือกตอบได้ 5 ระดับ (1-5) การให้คะแนนขึ้นอยู่ลักษณะข้อความ
ขั้นตอนการสร้างแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลที่ต้องการ ศึกษาวิธีสร้างแบบสอบถาม ร่างแบบสอบถาม ให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจ ทดลองใช้และปรับปรุง พิมพ์แบบสอบถามฉบับจริง