คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
การรายงานผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
กองแบบแผน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
เป้าหมาย ร้อยละ 98 ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 2 บริการเฉพาะ ข้อที่ 25 ร้อยละความสำเร็จของข้อร้องเรียนของผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ได้รับการแก้ไขภายในระยะเวลาตามที่กำหนด.
ชื่อเรื่อง ศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาเศรษฐศาสตร์โดยใช้แบบฝึกทักษะการท่องจำเบื้องต้นของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย.
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดกระบี่ รายงาน แผน / ผลการ ปฏิบัติงาน ประจำเดือนเมษายน 2555 กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์
โครงการพัฒนาศักยภาพ เครือข่าย เจ้าพนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข ( ปี 2551) โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่
ตัวชี้วัด 1 ร้อยละสะสมที่ลดลงของครัวเรือน ยากจนที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ AS-IS ปีที่ผ่านมา กิจกร รม ผู้ปฎิ บัติ กรอบ เวลา ผลลั พธ์ ปัจจัย สำเร็ จ ปัญห า.
นางเอื้อมพร วงศ์สวัสดิ์ กุล ผู้อำนวยการกองแผนงาน.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ติดตามงานผลการปฏิบัติงาน กิจกรรมหลักส่งเสริมและพัฒนา องค์กรและเกษตรกร ปีงบประมาณ พ. ศ กลุ่มงาน / กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดราชบุรี
ตรวจการสหกรณ์ ปกติ เจ้าภาพ กจส./ กลุ่มส่งเสริม ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างดำเนินการยังไม่ดำเนินการ จัดทำคำสั่งแต่งตั้ง ผู้ตรวจการ 1 ติดตามประเมินผล รวบรวมรายงาน.
กิจกรร ม 1 กิจกรร ม 3 กิจกรร ม 2 ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมแผนผลร้อยละ 1. สหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจ.
สกลนครโมเดล.
กิจกรรม การนำกองทุนฯ ไปใช้ประโยชน์ - ช่วยเหลือการบำบัดผู้เสพฯ ที่อยู่ในหมู่บ้าน / ชุมชน - กรรมการชุมชน... - ระเบียบชุมชน... ทุนปัญญา ทุนศรัทธา ทุนขวัญถุง.
สร้างชุมชน เข้มแข็ง ด้วยเครื่องมือแผน ชุมชน นายอาจณรงค์ สัตยพานิช ผู้อำนวยการสำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 16
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง
กรอบการประเมิน 4 มิติ DPIS (1/59)
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
ตัวชี้วัดการดำเนินงาน ปี 2560
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
ติดตามผลการปฏิบัติงานสำนักงานสหกรณ์จังหวัดขอนแก่น
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
ผู้ตรวจราชการกรมการพัฒนาชุมชน
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
วัตถุประสงค์ กรอบแนวคิดการส่งเสริมการท่องเที่ยว ชุมชนคุณธรรมฯ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
แผนพัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และการประกาศค่าเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 2.6 ระดับความสำเร็จของหน่วยงาน มีนวัตกรรม (Innovation Base) อย่างน้อย 1 เรื่อง โดย นายแพทย์ชัยพร พรหมสิงห์ นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ(ด้านส่งเสริมสุขภาพ)
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 14
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กรได้ครบถ้วน หมวด P 13 ข้อ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 15
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
อุปนายกสมาคมวิจัยและพัฒนาการศึกษา ดร.พรสันต์ เลิศวิทยาวิวัฒน์
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้กำหนดให้โครงการเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) เป็นโครงการสำคัญ (Flagship Project) ของกระทรวงฯ เพื่อสร้างความเข้าใจและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในแต่ละพื้นที่โดยชู
กิจกรรมส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน

มิติที่ ๑ มิติภายนอก จำนวน ๔ ตัวชี้วัด มิติที่ ๑ มิติภายนอก จำนวน ๔ ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ระดับ ชื่อตัวชี้วัด ค่าน้ำหนัก 1.1.1 กระทรวง ระดับความสำเร็จของการพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงระดับหมู่บ้าน 5 1.12 ระดับความสำเร็จของการสนับสนุน/ส่งเสริมการพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม ( ตัวชี้วัดร่วม พช.+ ปค.+ สถ. ) 3.2 กลุ่มภารกิจ ร้อยละของเทศบาล และ อบต. ต้นแบบ ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ตัวชี้วัดร่วม สถ. + พช.) 4.3 กรมฯ ร้อยละของผู้นำ อช. ที่ดำเนินการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของครัวเรือนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ จปฐ. ปี 2554 ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด 6

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง ตัวชี้วัดที่ 1.1.1 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงระดับหมู่บ้าน

ตัวชี้วัดที่ 1.1.1 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงระดับหมู่บ้าน น้ำหนัก : ร้อยละ 5 ระดับ 1 หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ 1,755 หมู่บ้าน ระดับ 2 หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ 2,633 หมู่บ้าน ระดับ 3 มีการประเมินความสุขมวลรวม (Gross Village Happiness : GVH) ครั้งที่ 1 (2,633 หมู่บ้าน) ระดับ 4 มีการประเมินความสุขมวลรวมครั้งที่ 2 และความสุขมวลรวมของหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบเพิ่มขึ้นร้อยละ 40 (1,054 หมู่บ้าน) ระดับ 5 ความสุขมวลรวมของหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบเพิ่มขึ้น ร้อยละ 50 (1,317 หมู่บ้าน)

คำอธิบายเกณฑ์ ระดับคะแนน 1 จำนวนหมู่บ้าน 1,755 หมู่บ้าน หมายถึง หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบในปี 2553-2554 ที่รักษาและพัฒนาคุณภาพความเป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ระดับคะแนน 2 จำนวนหมู่บ้าน 2,633 หมู่บ้าน หมายถึง หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบที่ดำเนินการใน ปี 2553 จำนวน 877 หมู่บ้าน ปี 2554 จำนวน 878 หมู่บ้าน ปี 2555 จำนวน 878 หมู่บ้าน

คำอธิบายเกณฑ์ ระดับคะแนน 3 มีการประเมินความสุขมวลรวม (Gross Village Happiness : GVH) ครั้งที่ 1 (เดือนมีนาคม 2555) (จำนวน 2,633 หมู่บ้าน) ระดับคะแนน 4 มีการประเมินความสุขมวลรวม ครั้งที่ 2 (เดือนสิงหาคม 2555) และความสุขมวลรวมของหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ เพิ่มขึ้นร้อยละ 40 (จำนวน 1,054 หมู่บ้าน) ระดับคะแนน 5 ความสุขมวลรวมของหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 50 (จำนวน 1,317 หมู่บ้าน)

หมู่บ้านต้องผ่านเกณฑ์การประเมินตามตัวชี้วัดที่กระทรวงมหาดไทยกำหนด การพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ หมายถึง หมู่บ้านที่ได้รับการพัฒนาเป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงที่ผ่านเกณฑ์การประเมินตัวชี้วัดของกระทรวงมหาดไทยและส่งเสริมการออมของครัวเรือน เพื่อเป็นต้นแบบสำหรับการขยายผลการดำเนินงานการพัฒนาหมู่บ้านอื่นๆ ต่อไป เกณฑ์การวัดหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ หมู่บ้านต้องผ่านเกณฑ์การประเมินตามตัวชี้วัดที่กระทรวงมหาดไทยกำหนด

เกณฑ์การวัดความ “อยู่เย็น เป็นสุข” หรือความสุขมวลรวมของหมู่บ้าน/ชุมชน (GVH) คือ หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบต้องมีผลการประเมินตามตัวชี้วัดที่กรมการพัฒนาชุมชนกำหนดเพิ่มขึ้น โดยการเปรียบเทียบผลการประเมินก่อนการดำเนินการพัฒนาหมู่บ้าน และหลังการพัฒนาหมู่บ้าน จำนวน 2 ครั้ง วิธีการประเมิน : ประเมินแบบมีส่วนร่วม ตัวชี้วัดการประเมิน จำนวน 6 องค์ประกอบ 22 ตัวชี้วัด การประเมินครั้งที่ 1 เดือน มีนาคม ประเมินครั้งที่ 2 เดือน สิงหาคม

การสนับสนุนตัวชี้วัดที่ 1.1.1 สร้างแกนนำหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ พัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ สนับสนุนการรักษามาตรฐานการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ปี 2552-2554

ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด นางศรีสุรินทร์ วัฒนรงคุปต์ โทร. 0 2141 6105 ผู้จัดเก็บข้อมูล นายรังสรรค์ หังสนาวิน โทร. 0 2141 6162 นายสุทธิพร สมแก้ว โทร. 0 2141 6163 นางบุบผา เกิดรักษ์ โทร. 0 2141 6157 น.ส. จิตรา อรุณฤกษ์ถวิล โทร.0 2141 6120

Q&A