คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน
มิติที่ ๑ มิติภายนอก จำนวน ๔ ตัวชี้วัด มิติที่ ๑ มิติภายนอก จำนวน ๔ ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ระดับ ชื่อตัวชี้วัด ค่าน้ำหนัก 1.1.1 กระทรวง ระดับความสำเร็จของการพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงระดับหมู่บ้าน 5 1.12 ระดับความสำเร็จของการสนับสนุน/ส่งเสริมการพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม ( ตัวชี้วัดร่วม พช.+ ปค.+ สถ. ) 3.2 กลุ่มภารกิจ ร้อยละของเทศบาล และ อบต. ต้นแบบ ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ตัวชี้วัดร่วม สถ. + พช.) 4.3 กรมฯ ร้อยละของผู้นำ อช. ที่ดำเนินการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของครัวเรือนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ จปฐ. ปี 2554 ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด 6
ตัวชี้วัดระดับกระทรวง ตัวชี้วัดที่ 1.1.1 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงระดับหมู่บ้าน
ตัวชี้วัดที่ 1.1.1 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงระดับหมู่บ้าน น้ำหนัก : ร้อยละ 5 ระดับ 1 หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ 1,755 หมู่บ้าน ระดับ 2 หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ 2,633 หมู่บ้าน ระดับ 3 มีการประเมินความสุขมวลรวม (Gross Village Happiness : GVH) ครั้งที่ 1 (2,633 หมู่บ้าน) ระดับ 4 มีการประเมินความสุขมวลรวมครั้งที่ 2 และความสุขมวลรวมของหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบเพิ่มขึ้นร้อยละ 40 (1,054 หมู่บ้าน) ระดับ 5 ความสุขมวลรวมของหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบเพิ่มขึ้น ร้อยละ 50 (1,317 หมู่บ้าน)
คำอธิบายเกณฑ์ ระดับคะแนน 1 จำนวนหมู่บ้าน 1,755 หมู่บ้าน หมายถึง หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบในปี 2553-2554 ที่รักษาและพัฒนาคุณภาพความเป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ระดับคะแนน 2 จำนวนหมู่บ้าน 2,633 หมู่บ้าน หมายถึง หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบที่ดำเนินการใน ปี 2553 จำนวน 877 หมู่บ้าน ปี 2554 จำนวน 878 หมู่บ้าน ปี 2555 จำนวน 878 หมู่บ้าน
คำอธิบายเกณฑ์ ระดับคะแนน 3 มีการประเมินความสุขมวลรวม (Gross Village Happiness : GVH) ครั้งที่ 1 (เดือนมีนาคม 2555) (จำนวน 2,633 หมู่บ้าน) ระดับคะแนน 4 มีการประเมินความสุขมวลรวม ครั้งที่ 2 (เดือนสิงหาคม 2555) และความสุขมวลรวมของหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ เพิ่มขึ้นร้อยละ 40 (จำนวน 1,054 หมู่บ้าน) ระดับคะแนน 5 ความสุขมวลรวมของหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 50 (จำนวน 1,317 หมู่บ้าน)
หมู่บ้านต้องผ่านเกณฑ์การประเมินตามตัวชี้วัดที่กระทรวงมหาดไทยกำหนด การพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ หมายถึง หมู่บ้านที่ได้รับการพัฒนาเป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงที่ผ่านเกณฑ์การประเมินตัวชี้วัดของกระทรวงมหาดไทยและส่งเสริมการออมของครัวเรือน เพื่อเป็นต้นแบบสำหรับการขยายผลการดำเนินงานการพัฒนาหมู่บ้านอื่นๆ ต่อไป เกณฑ์การวัดหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ หมู่บ้านต้องผ่านเกณฑ์การประเมินตามตัวชี้วัดที่กระทรวงมหาดไทยกำหนด
เกณฑ์การวัดความ “อยู่เย็น เป็นสุข” หรือความสุขมวลรวมของหมู่บ้าน/ชุมชน (GVH) คือ หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบต้องมีผลการประเมินตามตัวชี้วัดที่กรมการพัฒนาชุมชนกำหนดเพิ่มขึ้น โดยการเปรียบเทียบผลการประเมินก่อนการดำเนินการพัฒนาหมู่บ้าน และหลังการพัฒนาหมู่บ้าน จำนวน 2 ครั้ง วิธีการประเมิน : ประเมินแบบมีส่วนร่วม ตัวชี้วัดการประเมิน จำนวน 6 องค์ประกอบ 22 ตัวชี้วัด การประเมินครั้งที่ 1 เดือน มีนาคม ประเมินครั้งที่ 2 เดือน สิงหาคม
การสนับสนุนตัวชี้วัดที่ 1.1.1 สร้างแกนนำหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ พัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ สนับสนุนการรักษามาตรฐานการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ปี 2552-2554
ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด นางศรีสุรินทร์ วัฒนรงคุปต์ โทร. 0 2141 6105 ผู้จัดเก็บข้อมูล นายรังสรรค์ หังสนาวิน โทร. 0 2141 6162 นายสุทธิพร สมแก้ว โทร. 0 2141 6163 นางบุบผา เกิดรักษ์ โทร. 0 2141 6157 น.ส. จิตรา อรุณฤกษ์ถวิล โทร.0 2141 6120
Q&A