ผลการสำรวจปัญหา การใช้นวัตกรรมและ เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการเรียนการสอน
กลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จำนวน 100 คน ชั้นปีจำนวน ( คน ) เพศจำนวน ( คน ) หญิง 68 ชาย 32
สาขาวิชาจำน วน ( คน ) สาขาวิชาจำน วน ( คน ) ภาษาญี่ปุ่น 7 รัฐประศาสนศาสตร์ 2 ภาษาจีน 9 สารสนเทศศาสตร์ 3 ภาษาจีนธุรกิจ 4 ภาษาไทย 12 ภาษาอังกฤษธุรกิจ 1 พัฒนาสังคม 13 ภาษาอังกฤษ 10 ภาษาไทยในฐานะ ภาษาต่างประเทศ 2 ภาษาอังกฤษ หลักสูตรนานาชาติ 1 ภาษาเยอรมันเพื่อ อาชีพ 7 ภาษาสเปน 9 สังคมวิทยาและ มานุษยวิทยา 8 ภาษาฝรั่งเศส 11
อาจารย์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จำนวน 10 คน เพศจำนวน ( คน ) ชาย 5 หญิง 5
ตัวอย่างแบบสอบถาม ของนักศึกษา
ตัวอย่าง แบบสอบถามของ อาจารย์
ผลสำรวจการใช้อุปกรณ์ สมัยใหม่ (New Technology) ในการ เรียนของนักศึกษา
ผลสำรวจการใช้อุปกรณ์ สมัยใหม่ (New Technology) เพื่อช่วยในการเรียนของ นักศึกษา
ผลการสำรวจปัญหาในการใช้ อุปกรณ์สมัยใหม่ (New Technology) ของ นักศึกษา
ผลการสำรวจปัญหาในการใช้ อุปกรณ์สมัยใหม่ (New Technology) ของอาจารย์
ปัญหาส่วนใหญ่ที่พบในการใช้ อุปกรณ์สมัยใหม่ (New Technology) ของนักศักษา ด้านอุปกรณ์ - น้ำหนักของอุปกรณ์ ขนาดของอุปกรณ์ในการ พกพา ด้านศักยภาพของผู้ใช้อุปกรณ์ - บางโปรแกรมมีความซับซ้อนทำให้ใช้เวลานาน ในการทำความเข้าใจ ด้านระบบเครือข่าย - เครือข่ายของสัญญาณไม่มีความเสถียร ไม่ ครอบคลุมทุกพื้นที่ ด้านการสนับสนุนในเชิงนโนบาย - บางสถานที่ที่ใช้ในการเรียนอุปกรณ์ไม่พร้อม
ปัญหาส่วนใหญ่ที่พบในการใช้ อุปกรณ์สมัยใหม่ (New Technology) ของอาจารย์ ด้านอุปกรณ์ - น้ำหนักของอุปกรณ์ ขนาดของอุปกรณ์ในการ พกพา มีไวรัส - การเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ ด้านศักยภาพของผู้ใช้อุปกรณ์ - โปรแกรมมีความซับซ้อน เวอร์ชั่นของเทคโนโลยี ของแต่ละแห่ง มีระบบการใช้งานที่ต่างกัน ด้านระบบเครือข่าย - เครือข่ายไม่เสถียรไม่ตอบสนองต่อการใช้งาน ด้านการสนับสนุนในเชิงนโนบาย - อุปกรณ์แบบใหม่ไม่เชื่อมโยงกับทรัพยากรใน ห้องเรียน
ภาพประกอบการ สัมภาษณ์
รายชื่อสมาชิก 1. นางสาวชนิดา ไชยยนต์ นางสาวชลธิชา ฤทธิ์มหา นางสาวเบญวรรณ สีอ่อน นางสาวลักษิกา วอขวา สาขาวิชาการสอนภาษาญี่ปุ่น ชั้น ปีที่ 2 ปีการศึกษา 2557 ภาคเรียนที่ 2
ปัญหาการใช้ ICT ของนักศึกษาและ อาจารย์