มาตรการ การบริหารและพัฒนากำลังคน นพ.สุเทพ วัชรปิยานันทน์ ผู้ช่วยปลัดกระทรวงสาธารณสุข
เป้าประสงค์ (Goal) บุคลากรกระทรวงสาธารณสุขมีจำนวนและ การกระจายที่เหมาะสม โดยมีขวัญกำลังใจและสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรการเร่งด่วน ด้านกำลังคน ( ภายใน กย.57 ) มาตรการเร่งด่วน ด้านกำลังคน ( ภายใน กย.57 ) จำนวน 6 เรื่อง
มาตรการระยะเร่งด่วน 1. การบรรจุลูกจ้าง พนักงานราชการ และ พนักงานกระทรวงสาธารณสุข เป็นข้าราชการ ตามมติครม. ปี 2556-2558 2. การบรรจุนักเรียนทุนรัฐบาล (แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร) ที่จบการศึกษา และเข้าปฏิบัติหน้าที่ตั้งแต่ 1 เมษายน 2557 เป็นข้าราชการ
มาตรการระยะเร่งด่วน 3.การเยียวยาผู้ที่เคยเป็นลูกจ้างและพนักงานราชการ ซึ่งได้รับการบรรจุเป็นข้าราชการ ก่อน วันที่ 11 ธันวาคม 2555 ให้ปรับเงินเดือนเทียบเคียง กับผู้ที่ได้รับการบรรจุ ตั้งแต่... วันที่ 11 ธันวาคม 2555
มาตรการระยะเร่งด่วน 4. การปูนบำเหน็จให้แก่เจ้าหน้าที่กระทรวงสาธารณสุข ที่ได้รับบาดเจ็บ ทุพพลภาพหรือเสียชีวิตในขณะปฏิบัติหน้าที่ราชการ (เช่น เจ้าหน้าที่ในจังหวัดชายแดนใต้ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานให้บริการส่งต่อผู้ป่วย ฯลฯ)
มาตรการระยะเร่งด่วน 5.การขยายเวลาการจ่ายค่าตอบแทนกำลังคนด้านสาธารณสุข ตามมติครม.(ฉบับที่ 8และ9) ในหลักการเดิมไปก่อน ตั้งแต่เดือนเมษายน 2557 6. ใช้หลักเกณฑ์ใหม่ในการแต่งตั้ง โยกย้าย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด และผู้อำนวยการรพศ./รพท.
มาตรการระยะกลาง ด้านกำลังคน (1 ตค.57 – 30 กย.58) มาตรการระยะกลาง ด้านกำลังคน (1 ตค.57 – 30 กย.58) จำนวน 4 เรื่อง
มาตรการระยะกลาง ....... 1. การวิเคราะห์ความต้องการกำลังคนทั้งระบบ เพื่อจัดทำแผนการผลิตและพัฒนากำลังคนของกระทรวงสาธารณสุข
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อวิเคราะห์ภาระงานของบุคลากรสายวิชาชีพและสายสนับสนุนการจัดบริการ เพื่อจัดทำกรอบอัตรากำลัง ประกอบการพิจารณาจัดทำข้อเสนอการขอกำหนดตำแหน่งใหม่ในปีงบประมาณ 2557 และ 2558 2. เพื่อวิเคราะห์ภาระงานของบุคลากรสายอำนวยการและสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงาน เพื่อจัดทำกรอบอัตรากำลังในการบริหารพนักงานกระทรวงสาธารณสุข
ตามปริมาณงาน (Work Load) 1.สายวิชาชีพ ตามปริมาณงาน (Work Load) แพทย์ ทันตแพทย์ (รวม จพ.ทันต) เภสัชกร (รวม จพ.เภสัช) พยาบาลวิชาชีพ นักเทคนิคการแพทย์(รวม นักวิทย์ จพ.วิทย์) นักกายภาพบำบัด นักรังสีการแพทย์(รังสีวินิจฉัย)(จพ.รังสี) เจ้าพนักงานเวชสถิติ
ตาม Service Based นักกิจกรรมบำบัด นักรังสีการแพทย์(เวชศาสตร์นิวเคลีย) นักรังสีการแพทย์(รังสีรักษา) นักจิตวิทยา/นักจิตวิทยาคลินิก นักสังคมสงเคราะห์ นักกายอุปกรณ์/ช่างกายอุปกรณ์ นักเทคโนโลยีหัวใจและทรวงอก จพ.โสตทัศนศึกษา จพ.สาธารณสุข(เวชกิจฉุกเฉิน) นักโภชนาการ/นักกำหนดอาหาร แพทย์แผนไทย
รพ.สต. ขนาดใหญ่แห่งละ 1 คน ตาม Population Based สายงาน เกณฑ์คำนวณกำลังคน 1. พยาบาลวิชาชีพ อัตราส่วนต่อประชากร = 1 : 2,500 2. นักวิชาการสาธารณสุข/จพ.สาธารณสุข = 1 : 1,250 3. เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข = 1 : 12,000 4. แพทย์แผนไทย รพ.สต. ขนาดใหญ่แห่งละ 1 คน
2.Back Office 1. กลุ่มภารกิจอำนวยการ 1. กลุ่มภารกิจอำนวยการ 2. กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาระบบบริการและสนับสนุนบริการสุขภาพ(พรส.) 3. ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษา
วิธีการคำนวณแต่ละสายงาน สายสนับสนุน FTE นักจัดการ, นักวิชาการพัสดุ, นักทรัพยากร, นักวิชาการเงินและบัญชี, นักวิเคราะห์นโยบายและแผน, นักวิชาการคอมพิวเตอร์, จพ.ธุรการ, นายช่างเทคนิค ฯ Service Based รปภ., ซักฟอก, จัดเก็บขยะ(สุขาภิบาล), โทรศัพท์, ประชาสัมพันธ์,ยานพาหนะ,เลขานุการ, ธุรการแพทย์ ฯ Population Based ไม่ได้ใช้
การประมวลผลการวิเคราะห์ตามสายงาน ภาพรวม ตำแหน่ง จำนวนควรมี ขรก พรก ลจ.ชค. รวม รวมลจ.ชค. พรก. ส่วนขาด 1 นายแพทย์ 20,583 13,782 121 13,903 6,680 2 ทันตแพทย์ 6,447 4,194 4,195 2,252 3 เภสัชกร 8,598 6,052 35 709 6,796 744 1,802 4 พยาบาลวิชาชีพ (FTE + บริการปฐมภูมิตามสัดส่วนปชก.) 122,053 78,115 338 16,487 94,940 16,825 27,113 5 นักเทคนิคการแพทย์ 1,579 301 974 2,854 1,275 6 นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ 278 30 138 446 168 รวมนักเทคนิค/นักวิทย์ฯ 5,168 1,857 331 1,112 3,300 1,443 1,868
การประมวลผลการวิเคราะห์ตามสายงาน ภาพรวม การประมวลผลการวิเคราะห์ตามสายงาน ภาพรวม ตำแหน่ง จำนวนควรมี ขรก พรก ลจ.ชค. รวม รวมลจ.ชค. พรก. ส่วนขาด 7 นักกายภาพบำบัด 4,358 836 298 911 2,045 1,209 2,313 8 นักรังสีการแพทย์ 530 59 114 703 173 9 เจ้าพนักงานรังสีการแพทย์ 1,070 4 32 1,106 36 รวมนักรังสีฯและจพ.รังสีฯ 3,455 1,600 63 146 1,809 209 1,646 10 เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข (FTE + บริการปฐมภูมิตามสัดส่วนปชก.) 8,112 4,555 12 1,536 6,103 1,548 2,009 11 เจ้าพนักงานเภสัชกรรม 7,189 3,738 29 1,272 5,039 1,301 2,150 เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ 3,422 2,478 3 311 2,792 314 630
การประมวลผลการวิเคราะห์ รายสายงาน ตำแหน่ง จำนวน ควรมี ขรก พรก ลจ.ชค. รวม รวมลจ.ชค. พรก. ส่วนขาด 1 นักจิตวิทยาคลินิก 964 43 3 9 55 12 909 2 นักเวชศาสตร์การสื่อความหมาย 213 11 31 20 182 นักเทคโนโลยีหัวใจและทรวงอก 179 52 23 75 104 4 นักกายอุปกรณ์ 276 7 8 268 5 นักกิจกรรมบำบัด 1,062 98 67 196 866 6 นักโภชนาการ 566 144 93 332 569 425 - นักสังคมสงเคราะห์ 528 197 28 292 95 236 แพทย์แผนไทย (+ รพ.สต.ขนาดใหญ่แห่งละ 1 คน) 3,558 40 779 862 819 2,696 เจ้าพนักงานเวชสถิติ 1,772 924 525 1,480 556 10 เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษา 495 305 260 576 271 เวชกิจฉุกเฉิน 2,438 751 1,192 1,955 1,204 483
การประมวลผลการวิเคราะห์ รายสายงาน ตำแหน่ง จำนวนควรมี ขรก พรก ลจ.ชค. รวม รวมลจ.ชค. พรก. ส่วนขาด 1 นักวิชาการสาธารณสุข 20,561 231 4,817 25,609 5,048 2 เจ้าพนักงานสาธารณสุข 12,201 21 5,233 17,455 5,254 รวมนวก.สธ.และจพ.สธ. 46,318 32,762 252 10,050 43,064 10,302 3,254 รวมทั้ง 3 กลุ่ม 247,231 151,734 1,662 34,734 188,130 36,396 59,101
มาตรการระยะกลาง ......... 2. การประเมินผลการจ่ายค่าตอบแทนฉบับ 8 และ 9 เพื่อเสนอขอทบทวน 3. การกำหนดแนวทางความก้าวหน้าเสนอ ก.พ.เพื่อลด ความเหลื่อมล้ำกับข้าราชการประเภทอื่น ในประเด็น.. - อัตราเงินเดือนเต็มขั้น - การกำหนดตำแหน่งสูงขึ้น - ระบบการประเมินผลงานวิชาการ
....พรบ.ข้าราชการกระทรวงสาธารณสุข.... มาตรการระยะกลาง ......... 4.เตรียมจัดทำ ... ....พรบ.ข้าราชการกระทรวงสาธารณสุข....
มาตรการระยะยาว ด้านกำลังคน ( 1 ตค. 58 – 30 กย. 61 ) จำนวน 3 เรื่อง
มาตรการระยะยาว..................... 1.การประเมินผลการจ่ายค่าตอบแทน เพื่อปรับระบบ การจ่ายค่าตอบแทนกำลังคนทั้งระบบ
มาตรการระยะยาว................... 2. การผลิตและพัฒนากำลังคนรายวิชาชีพทั้งระบบตาม แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ( Service Plan )
3.แผนการผลิตแพทย์เพื่อสร้างความเท่าเทียมในการเข้าถึงบริการของประชาชน มาตรการระยะยาว........................ 3.แผนการผลิตแพทย์เพื่อสร้างความเท่าเทียมในการเข้าถึงบริการของประชาชน - การผลิตแพทย์ก่อนปริญญา (CPIRD ODOD) ตามความ ขาดแคลนของเขตสุขภาพ - การผลิตแพทย์เฉพาะทางเวชศาสตร์ครอบครัว จำนวน 1,000 คน ในระยะเวลา 5 ปี ( 2558-2562)
18 36
การทบทวนบทบาทภารกิจและการปรับปรุงระบบบริการสุขภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การทบทวนบทบาทภารกิจและการปรับปรุงระบบบริการสุขภาพ ทบทวนภารกิจและโครงสร้างของกระทรวงสาธารณสุข พัฒนารูปแบบของการจัดบริการสุขภาพ (Service Plan) ศึกษาวิจัยทางเลือกรูปแบบการจัดบริการด้านสุขภาพที่หลากหลาย ส่งเสริม สนับสนุนให้ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพตนเอง 37
การพัฒนาระบบการบริหารกำลังคนด้านสุขภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การพัฒนาระบบการบริหารกำลังคนด้านสุขภาพ ขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์กำลังคนด้านสุขภาพ พัฒนาระบบวิเคราะห์อัตรากำลังที่สอดคล้องกับภาระงาน พัฒนารูปแบบการปรับประสิทธิภาพการบริหารจัดการกำลังคน จัดทำข้อเสนอทางเลือกรูปแบบการจ้างงานที่หลากหลายมีประสิทธิภาพ 38
การปรับระบบบริหารงบประมาณค่าใช้จ่ายกำลังคนด้านสุขภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 3 : การปรับระบบบริหารงบประมาณค่าใช้จ่ายกำลังคนด้านสุขภาพ พัฒนาศักยภาพผู้บริหารและผู้รับผิดชอบด้านการเงินและบัญชี จัดทำข้อเสนอการแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการด้านการเงินกับการบริหารจัดการกำลังคน พัฒนาระบบเฝ้าระวังและประเมินผลการบริหารงบประมาณด้านกำลังคนจัดบริการด้านสุขภาพ ข้อเสนอปรับระบบค่าตอบแทนกำลังคนด้านสาธารณสุข 39
.............. ............... ------------------------- ---------------------------- ----------------------------