งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ การประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษา พ. ศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ การประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษา พ. ศ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ การประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษา พ. ศ
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ การประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษา พ.ศ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 ดร. ธีรวรรค์ วระพงษ์สิทธิกุล ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ หน่วยศึกษานิเทศก์ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

2 ตามประกาศคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษา เรื่องหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษา พ.ศ (ฉบับที่ 2) พ.ศ ลงวันที่ 20 พฤษภาคม 2558 เห็นสมควรให้มีการปรับปรุงแก้ไขหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษา พ.ศ ตามประกาศคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษา ลงวันที่ 1 สิงหาคม 2555 1. ให้แก้ไขข้อความในข้อ 5. ข้อ 6. และข้อ 7. ของแนวปฏิบัติในการปฏิบัติการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา 5. ให้สถานศึกษาดำเนินการ “ตามเกณฑ์การดำเนินการตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2555” โดยมีเป้าหมายให้เกิดผลในระดับคุณภาพ “ดีมาก” ในทุกตัวบ่งชี้ (ของเดิม แต่ละตัวบ่งชี้จะต้องได้คะแนนตามเกณฑ์การตัดสินไม่ต่ำกว่า 3 คะแนน และคะแนนเฉลี่ยจากทุกตัวบ่งชี้ไม่ต่ำกว่า 3.5 คะแนน)

3 1. (ต่อ) 6. ในการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ถ้าตัวบ่งชี้ใดอยู่ในระดับคุณภาพ “ต้องปรับปรุง” หรือ “ต้องปรับปรุงเร่งด่วน” สถานศึกษาต้องวิเคราะห์สาเหตุ และพัฒนาให้อยู่ในระดับคุณภาพตั้งแต่ “พอใช้” ขึ้นไป ในปีถัดไป ถ้าไม่สามารถปฏิบัติได้ ให้หน่วยงานต้นสังกัด กำกับ ติดตาม ตรวจสอบ ส่งเสริม สนับสนุนและร่วมกับสถานศึกษาพัฒนาเพื่อให้อยู่ในระดับคุณภาพตั้งแต่ “พอใช้” ขึ้นไป ภายในปีต่อไป (ของเดิมใช้เกณฑ์การประเมินตามข้อ 5 และให้ผ่านเกณฑ์การประเมินในปีต่อไป)

4 1. (ต่อ) 7. ในการประเมินคุณภาพภายในโดยต้นสังกัด เพื่อติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอย่างน้อย 1 ครั้งในทุก 3 ปี ถ้าตัวบ่งชี้ใดอยู่ในระดับคุณภาพ “ต้องปรับปรุง” หรือ “ต้องปรับปรุงเร่งด่วน” หน่วยงานต้นสังกัดต้องวิเคราะห์สาเหตุ ให้ข้อเสนอแนะ กำกับ ติดตาม ตรวจสอบ ส่งเสริม สนับสนุนและร่วมกับสถานศึกษาพัฒนา เพื่อให้อยู่ในระดับคุณภาพ ตั้งแต่ “พอใช้” ขึ้นไป โดยให้มีการประเมินซ้ำในปีถัดไป(ของเดิมใช้เกณฑ์การประเมินตามข้อ 5 และให้ประเมินซ้ำในปีต่อไป)

5 2. ให้ปรับปรุง “เกณฑ์การตัดสิน” ของตัวบ่งชี้ที่ 1.1,1.3, 1.6, 1.7, 1.8, 8.6, 8.8, และ 8.9 รวม 8 ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การตัดสิน ให้เทียบบัญญัติไตรยางค์ ทศนิยมสองตำแหน่งไม่ปัดเศษ โดยให้กำหนดผลจากประเด็น การพิจารณา ตั้งแต่ร้อยละ ขึ้นไป เทียบได้ค่าคะแนน 5.00 สูตรคำนวณค่าคะแนน = ร้อยละจากประเด็นพิจารณา x 5 80 ของเดิม ของใหม่ ระดับคุณภาพ เกณฑ์ การตัดสิน ค่าคะแนน ดีมาก ร้อยละ 80 ขึ้นไป 5 ดี ร้อยละ 4 พอใช้ ร้อยละ 3 ต้องปรับปรุง ร้อยละ 2 ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ต่ำกว่า ร้อยละ 50 1 ระดับคุณภาพ ค่าคะแนน ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง ต้องปรับปรุงเร่งด่วน

6 ให้ปรับปรุง “เกณฑ์การตัดสิน” ของตัวบ่งชี้ที่ 1.4,1.5 รวม 2 ตัวบ่งชี้
3. ให้ปรับปรุง “เกณฑ์การตัดสิน” ของตัวบ่งชี้ที่ 1.4,1.5 รวม 2 ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การตัดสิน ให้เทียบบัญญัติไตรยางค์ ทศนิยมสองตำแหน่งไม่ปัดเศษ โดยให้กำหนดผลจากประเด็น การพิจารณา ตั้งแต่ร้อยละ ขึ้นไป เทียบได้ค่าคะแนน 5.00 สูตรคำนวณค่าคะแนน = ร้อยละจากประเด็นพิจารณา x 5 50 ของเดิม ของใหม่ ระดับคุณภาพ เกณฑ์ การตัดสิน ค่าคะแนน ดีมาก ร้อยละ 65 ขึ้นไป 5 ดี ร้อยละ 4 พอใช้ ร้อยละ 3 ต้องปรับปรุง ร้อยละ 2 ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ต่ำกว่า ร้อยละ 35 1 ระดับคุณภาพ ค่าคะแนน ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง ต้องปรับปรุงเร่งด่วน

7 4. ให้แก้ไข “คำอธิบาย” “การคำนวณ” “ประเด็นการพิจารณา” และ “เกณฑ์การตัดสิน” ของตัวบ่งชี้ที่ 1.3 คำอธิบาย จำนวนผู้เรียนในระดับ ปวช. และระดับ ปวส. ที่ผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานวิชาชีพในการประเมินครั้งแรก เทียบร้อยละกับจำนวนผู้เรียนที่ลงทะเบียนเรียนครบทุกรายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตร จำแนกตามระดับ ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางานและภาพรวมของสถานศึกษา การคำนวณ ร้อยละ = จำนวนผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานวิชาชีพในการประเมินครั้งแรก x 100 จำนวนผู้เรียนที่ลงทะเบียนเรียนครบทุกรายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตร ประเด็นการพิจารณา ร้อยละของจำนวนผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานวิชาชีพในการประเมินครั้งแรก เทียบกับจำนวนผู้เรียนที่ลงทะเบียนเรียนครบทุกรายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตร โดยพิจารณาจากภาพรวมของสถานศึกษา

8 ต้องปรับปรุงเร่งด่วน
เกณฑ์การตัดสิน ให้เทียบบัญญัติไตรยางศ์ ทศนิยมสองตำแหน่งไม่ปัดเศษ โดยกำหนดผลจากประเด็นการพิจารณา ตั้งแต่ร้อยละ ขึ้นไป เทียบได้ค่าคะแนน 5.00 สูตรคำนวณค่าคะแนน = ร้อยละจากประเด็นการพิจารณา x 5 80 ระดับคุณภาพ ค่าคะแนน ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง ต้องปรับปรุงเร่งด่วน

9 กลุ่มส่งเสริมวิชาการ หน่วยศึกษานิเทศก์ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โทรศัพท์/โทรสาร ต่อ 119,121


ดาวน์โหลด ppt หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ การประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษา พ. ศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google