เรื่อง การศึกษาความต้องการและปัจจัยที่มีผล ต่อการเลือกสถานศึกษาเพื่อศึกษาต่อที่ โรงเรียน เทคนิควิมลบริหารธุรกิจ ของ นักเรียนในโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายใน โรงเรียนจังหวัด.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้วิจัย นางนันทา สุพจน์เฉลิมขวัญ
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาต่อการบริหารงานของ ผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายบุคลากร โรงเรียนแลมป์ - เทค ปีการศึกษา 2550 วิธีการวิจัย สำรวจความพึงพอใจ กับผู้ใต้บังคับบัญชา.
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
ผู้วิจัย นายมณัฐ เฮ่ประโคน
สารสนเทศแสดงข้อมูลจำนวนนักเรียนที่เข้า สอบ และคะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศของผล การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปี

โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดน่าน
ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานประกอบการต่อการฝึกงานของนักศึกษา ระดับปวส
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ์ฯ
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา -ว่าง- นายเฉลิมชัย เรืองนนท์
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด


อาจารย์ประจำสาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media)
โรงเรียนในฝัน : พลิกระบบการศึกษา แก้ปัญหาความยากจน สร้าง โอกาสให้เด็กไทย เบญจลักษณ์ น้ำฟ้า ผชช พิเศษ สพฐ. 17 กุมภาพันธ์ 59.
การดำเนินงานตามโครงการ “ หลักสูตรคู่ขนาน ” โรงเรียนกู่กาสิงห์ประชา สรรค์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 27 อัต ลักษ ณ์ เอกลั กษณ์ มีความรู้คู่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
ความพึงพอใจต่อการบริหาร จัดการโครงการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงด้วยวิธีการ เรียนรู้แบบศึกษาดูงาน บริหารธุรกิจสาขาการจัดการ / การตลาด ภาคเรียนที่ 2/2556.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
เรื่องแจ้งในการประชุม ผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มนิเทศติดตาม และประเมินผล การจัดการศึกษา สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา ลพบุรีเขต 1 สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
พลเอก ประสาท สุขเกษตร เลขานุการ รมต.กษ.
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
วัตถุประสงค์การวิจัย
การจัดสรรงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ 2561
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
วิทยาลัยเทคโนโลยี ดอนบอสโกสุราษฎร์
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
แผนปฏิบัติการ กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 8
กลุ่มที่ 7 กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด นครราชสีมา.
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงเสียงท้าย - ts , st
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเกษตร
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง : แรงจูงใจที่ต้องการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา ของนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย : นางสาวสิริรัตน์ เทียมเสรีวงศ์
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง การศึกษาความต้องการและปัจจัยที่มีผล ต่อการเลือกสถานศึกษาเพื่อศึกษาต่อที่ โรงเรียน เทคนิควิมลบริหารธุรกิจ ของ นักเรียนในโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายใน โรงเรียนจังหวัด นนทบุรี โดย สุธี เทศวิรัช วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ

ปัญหาการวิจัย สืบเนื่องจากการแข่งขันในด้านการจัดการศึกษาของ เอกชนมีสูงมากเพราะต้องแข่งขันทั้งกับภาครัฐและ เอกชน ด้วยกัน ดังนั้นการจัดการศึกษาจึงต้องมี ทิศทางที่ชัดเจน และสามารถตอบสนองความ ต้องการของผู้เรียนได้อย่างถูกต้อง ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้ ทำวิจัยเพื่อศึกษาความต้องการและปัจจัยในการเลือก สถานศึกษาเพื่อศึกษาต่อของนักเรียนชั้นม. 3 และ เพื่อพัฒนาการดำเนินงานของฝ่ายแนะแนวและ ประชาสัมพันธ์ให้มีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับ ความต้องการของผู้เรียน

วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อศึกษาความต้องการในการศึกษาต่อ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของ กลุ่มเป้าหมายในโรงเรียนในจังหวัด นนทบุรี 2. เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเลือก สถานศึกษาเพื่อศึกษาต่อของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3

ที่ปัจจัยในการเลือกสถานศึกษา ระดับความสำคัญ XS.D. ลำดั บ มีชื่อเสียงที่ดี และเปิดสอนมานาน เป็นที่ยอมรับของสังคม มีเครื่องแบบนักเรียนที่ทันสมัย มีเครื่องแบบนักเรียนนักศึกษาเป็น สูท ระยะทางจากบ้านมาโรงเรียนนั่งรถ ไม่ไกลเกินไป อัตราค่าธรรมเนียมการเรียน และ ค่าใช้จ่ายไม่แพงเกินไป สถานศึกษามีการจัดสถานที่ เหมาะสม สวยงามมีบรรยากาศเอื้อ ต่อการเรียนรู้ มีสื่อการเรียนการสอนที่ทันสมัย

อันดั บที่ จำนวนผู้จัด อันดับ / คน ติดเป็นร้อย ละ ติดเป็น อันดับที่ ไม่ระบุ อันดับ

สาขาการเรียนจำนวนผู้เลือกคิดเป็นร้อยละ 1. สายสามัญ ม สายอาชีพ ( แบ่งเป็น ) สาขาพณิชยกรรม สาขาช่างอุตสาหกรรม สาขาศิลปกรรม สาขาเกษตรกรรม สาขาคหกรรม 10.34

จากการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกสถานศึกษาเพื่อศึกษาต่อมีดังนี้ 1. อันดับที่ 1 ได้แก่ข้อ 7 เรื่องการมีสื่อการเรียนการสอนที่ ทันสมัย มีค่าเฉลี่ย 3.91 จัดอยู่ใน ระดับมาก 2. อันดับสุดท้าย ได้แก่ข้อ 5 เรื่อง การมีเครื่องแบบชุดนักเรียน นักศึกษา เป็นสูทมีค่าเฉลี่ย 3.10 จัดอยู่ใน ระดับ ความสำคัญมาก 3. การจัดอันดับโรงเรียนเทคนิควิมลบริหารธุรกิจ เมื่อ เปรียบเทียบกับโรงเรียนที่ท่านรู้จัก มี นักเรียนจัดอันดับให้โรงเรียนเทคนิควิมลบริหารธุรกิจให้ใน ลำดับที่ 4 จำนวน 77 คน ติดเป็นร้อยละ โรงเรียนกลุ่มเป้าหมายที่ใช้การเก็บข้อมูล เป็นกลุ่มตัวอย่าง มีสัดส่วนของนักเรียนที่เลือกเรียนสายสามัญ และสาย อาชีวศึกษา 50.51:49.49

1. ได้นำผลการวิจัยรายงานให้กรรมการบริหารโรงเรียน ทราบเพื่อหาทางปรับปรุงดำเนินงาน ในข้อที่เรายังไม่ สามารถดำเนินการตามความต้องการของผู้เรียนเพื่อ พัฒนาองค์กรให้สามารถแข่งขันกับผู้อื่นได้ เช่น ด้าน สื่อ การเรียนการสอนให้มีความทันสมัยและปรับปรุงให้มีสิทธิ ภาพให้สามารถใช้งานได้อย่างมีศักยภาพ จัดทำแผนใน การพัฒนา ทั้งระยะสั้น และระยะยาวที่เด่นชัดและการจัด บริเวณอาคารสถานที่ให้มีความเหมาะสมเอื้อต่อการ เรียนรู้ 2. ในการจัดการเรียนการสอนด้านอาชีวศึกษา มี สัดส่วนอยู่ในระดับที่พอใจ โดยเฉพาะสาขาพณิช กรรม ยังเป็นที่ต้องการของนักเรียน ดังนั้น อนาคต ในการจัดการเรียนการสอนด้านอาชีวศึกษาของ สถานศึกษาจึง ยังมีโอกาสที่ดีในการลงทุนแต่ต้อง ปรับปรุงให้มีคุณภาพ โดยเฉพาะสื่อและอุปกรณ์ที่ ทันสมัยส่วนในสาขาอื่นๆที่มีผู้เลือกเรียนน้อยซึ่งมี องค์ประกอบหลายประการที่วิจัยไม่ได้ศึกษา