การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการสร้างเว็บเพจ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย ที่ได้รับการสอนแบบ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาโปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่อง งานนำเสนอข้อมูลด้านมัลติมีเดียนักเรียนปวช.2.
Advertisements

ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางนุชนาฎ หิรัญ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2556 นางสาวกรรณิการ์ นัยผ่องศรี
นางพรพรรณ สนทอง โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
ผลของการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อ ผลสัมฤทธิ์และความสนใจในการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 โรงเรียนสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี
นางพรทิพย์ วิริยะโพธิการ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์

นายไพฑูรย์ กำลังดี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวพรธนา ช่วยตั้ง
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
นางสาวกุลวีณ์ สัตตรัตนามัย โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ทัศนคติของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
นางสาววราภรณ์ ว่องนัยรัตน์ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางสุกัญญา พลรัตนมงคล วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย โดยจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ด้วยวิธี STAD ของนักเรียน 501 สาขางานการบัญชี
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
นางวลัยกร แสงเสริม โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
นางปิยนุช พงษ์เศวต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวทิพย์วรรณ จะปูน วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร เชียงใหม่
นายทัศนชัย เหน็บบัว โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ชื่อผู้ วิจัย นางสาวพัชราภรณ์ ใจบุญมา
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการสร้างเว็บเพจ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย ที่ได้รับการสอนแบบ E-LEARNING กับ การสอนแบบบรรยาย นายเมธาสิทธิ์ ต่อภัค ชยานันท์ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชี วิทยาลัย

ปัญหาการวิจัย ในปัจจุบัน คอมพิวเตอร์ได้กลายเป็นสิ่งสำคัญในชีวิตของเรา และความสำคัญนี้ได้ทวีมากยิ่งขึ้นในอนาคต คอมพิวเตอร์ได้เข้าไป มีบทบาทในทุกวงการอาชีพ โดยเฉพาะกับงานที่มีข้อมูลมาก ๆ และกำลังจะกลายเป็นเครื่องใช้สามัญในบ้านเหมือนกับเครื่องรับ วิทยุ โทรทัศน์ บทบาทของคอมพิวเตอร์ในงานต่าง ๆ เช่น บทบาท คอมพิวเตอร์ต่องานด้านการศึกษา ในสถานศึกษาต่าง ๆ ได้มีการ นำคอมพิวเตอร์มาใช้งาน 3 ลักษณะ คือใช้สำหรับผู้เรียน เพื่อ ค้นหาความรู้หรือข้อมูลที่สนใจจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ เช่น การใช้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน และ E-learning ใช้สำหรับผู้สอน เพื่อเป็น สื่อในการถ่ายทอดความรู้ให้แก่ผู้เรียน วิชาการสร้างเว็บเพจ เป็นวิชาที่ต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ นักเรียนจะรู้สึกสนใจในช่วงแรก ผู้วิจัยได้สังเกตการเรียนการ สอน พบว่า จากการที่ครูผู้สอนได้ถ่ายทอดความรู้ให้นักเรียนใน ชั้น หลังจากการสอนครูได้ประเมินผล โดยการมอบหมายให้ทำ แบบฝึกหัด และแบบทดสอบ พบว่านักเรียนบางคนไม่สามารถทำ แบบฝึกหัด และทำข้อสอบผ่านเกณฑ์ ที่กำหนด ซึ่งปัญหา ดังกล่าวนั้น เกิดจากการที่นักเรียนบางคนเรียนรู้ได้ช้า และมี ความสามารถในการเรียนรู้ไม่เท่ากัน จึงได้หาวิธีการที่จะจูงใจให้ นักเรียนมีความสนใจ และกระตุ้นให้นักเรียนมีความกระตือรือร้น มากขึ้น การสอนโดยใช้สื่อการสอนผ่านอินเตอร์เน็ต เป็นวิธีการที่ ช่วยสนับสนุนวิธีการดังกล่าวได้ทางหนึ่ง โดยให้เว็บไซต์ได้มี บทบาทสำคัญในการเรียน เพื่อมีอิทธิพลในการสร้างความสนใจ จูง ใจ ในกรณีที่ไม่เข้าใจหรือหยุดเรียน นักเรียนสามารถอ่านเนื้อหา ได้อีกครั้ง

วัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาการสร้างเว็บเพจ ของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นปีที่ 3 โรงเรียนกรุงเทพการ บัญชีวิทยาลัย ระหว่างที่ได้รับการ สอนแบบ E-learning กับการสอน แบบบรรยาย

กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นปีที่ 3 สาขางาน คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ที่กำลังศึกษาใน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย ห้อง CC02 และ ห้อง CC03 ห้องละ 32 คน โดยสุ่ม อย่างง่าย

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ ข้อมูล 1. ข้อสอบปลายภาค วิชาการสร้าง เว็บเพจ เป็นข้อสอบภาคปฏิบัติ 2. บทเรียน E-learning ในวิชาการ สร้างเว็บเพจ

การรวบรวมข้อมูล ระยะเวลาของการวิจัย 16 สัปดาห์ โดย ดำเนินการดังนี้ 1. สอนเนื้อหาโดยวิธีบรรยายให้กับห้อง CC02 2. สอนเนื้อหาแบบ E-learning ใน เว็บไซต์ กับห้อง CC03 3. นักเรียนทั้ง 2 ห้อง ทำข้อสอบปลาย ภาคเป็นข้อสอบภาคปฏิบัติ ทำเว็บไซต์ระยะเวลา 1 สัปดาห์ 4. ครูตรวจเว็บไซต์ที่นักเรียนส่งมาเมื่อ เทียบกับเกณฑ์การให้คะแนน

ตารางเปรียบเทียบความแตกต่าง ระหว่างคะแนนสอบ ปลายภาควิชาการสร้างเว็บเพจ ที่ได้รับการสอนแบบ E-LEARNING และแบบ บรรยาย วิธีสอนวิธีสอน แบบ บรรยาย วิธีสอนแบบ E-learning tSig ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน จากตารางพบว่านักเรียนห้อง CC02 ที่ได้รับการสอน สอนแบบบรรยาย มีคะแนนสอบปลายภาควิชาการสร้าง เว็บเพจ ตั้งแต่ 4-21 คะแนน คะแนนเฉลี่ย คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 4.79 คะแนน ส่วนนักเรียนห้อง CC03 ที่ได้รับการสอนสอนแบบ E-learning มีคะแนน สอบปลายภาค วิชาการสร้างเว็บเพจ ตั้งแต่ 8-24 คะแนน คะแนนเฉลี่ย คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3.38 คะแนน ซึ่งคะแนนสอบปลายภาควิชาการสร้างเว็บเพจที่ ได้รับการสอนแบบ E-learning มีคะแนนสูงกว่านักเรียนที่ สอนแบบบรรยาย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

สรุปผลการวิจัย นักเรียนห้อง CC02 ที่ได้รับการสอนแบบ บรรยาย มีคะแนนสอบปลายภาควิชาการ สร้างเว็บเพจ ตั้งแต่ 4-21 คะแนน คะแนน เฉลี่ย คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 4.79 คะแนน ส่วนนักเรียนห้อง CC03 ที่ ได้รับการสอนสอนแบบ E-learning มี คะแนนสอบปลายภาควิชาการสร้างเว็บเพจ ตั้งแต่ 8-24 คะแนน คะแนนเฉลี่ย คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3.38 คะแนน ซึ่ง คะแนนสอบปลายภาควิชาการ สร้างเว็บเพจที่ได้รับการสอนแบบ E- learning มีคะแนนสูงกว่านักเรียนที่สอน แบบบรรยาย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.01