โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Graduate School Khon Kaen University
การจัดทำรายงานประจำปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
ชื่อตัวบ่งชี้ : 5.5 ศักยภาพของระบบฐานข้อมูล เพื่อการบริหาร การเรียนการสอน และการวิจัย ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน 1. จุดอ่อน ของคณะฯ 1.1 ยังไม่มี SERVERS เป็นของคณะฯเอง.
ชื่อตัวบ่งชี้ 5.1 : สภาสถาบันและผู้บริหารมี วิสัยทัศน์ที่ขับเคลื่อนพันธกิจ และ สามารถสะท้อนถึง นโยบาย วัตถุประสงค์ และนำไปสู่เป้าหมาย ของการบริหารจัดการที่ดี
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
ข้อบกพร่องที่พบในรายงาน โดย รศ.ดร.สุชาดา บวรกิติวงศ์
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
LOGO โครงการประชุมสัมมนาถ่ายทอดนโยบาย ของมหาวิทยาลัยสู่ ผู้บริหารระดับหัวหน้า ภาควิชา สาขาวิชา “70 ปี มหาวิทยาลัยศิลปากร : โอกาสและ ศักยภาพการเป็นผู้นำ.
ประสิทธิภาพ การปฏิบัติราชการ
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
การประเมินคุณภาพภายในกอง แผนงาน ประจำปีการศึกษา 2551 วันที่ 20 กรกฎาคม 2552 โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน.
ชื่อตัวบ่งชี้ 3.3 : มีการนำความรู้และประสบการณ์ จากการบริการวิชาการและ วิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการ สอนและการวิจัย ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน คณะฯ ยังขาดการรวบรวม.
ชื่อตัวบ่งชี้ : 5.3 มีการกำหนดแผนกลยุทธ์ที่ เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน 1. เนื่องจากบุคลากรแต่ละคนมีภาระงานที่ต้อง รับผิดชอบหลายด้าน.
ชื่อตัวบ่งชี้ : 5.2 มีการพัฒนาสถาบันสู่องค์การ เรียนรู้โดยอาศัยผลการประเมินจาก ภายในและภายนอก ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน เนื่องจากบุคลากรแต่ละคนมีภาระงานที่ต้อง.
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
โครงการจัดตั้ง ศูนย์บริการทางวิศวกรรมและเทคโนโลยี
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 1st ปัญหา อุปสรรค และกลยุทธ์ ส่งเสริมงานวิจัยด้าน ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาเพื่อเสริมสร้างความ.
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 3rd ปัญหา อุปสรรค แนวโน้มของ อุตสาหกรรม ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาเพื่อเสริมสร้างความ.
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 4 th กลยุทธ์การส่งเสริมและพัฒนา เสริมสร้างศักยภาพอุตสาหกรรม ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ.
รูปแบบของการรายงานผลการ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2549/ ปีงบประมาณ คณะกรรมการประเมินคุณภาพ ภายใน 2. ข้อมูลของคณะ / หน่วยงาน ( โดยสังเขป ) 3.
การประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานสนับสนุน
โครงการจัดทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างเป็นระบบ (การจัดทำฐานข้อมูลและสารสนเทศภูมิศาสตร์ ลุ่มน้ำสาขาหรือลุ่มน้ำย่อยนำร่อง)
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
จัดการความรู้เรื่องอะไร ? มีองค์กรใดบ้างที่ตั้งแต่ทำงานมา ไม่ได้ใช้ความรู้ อะไรเลย ? หรือ มีองค์กรใดบ้างที่ไม่เคยรู้ว่ามี ความรู้อะไรบ้างที่จำเป็นสำหรับการทำงานใน.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ระบบงานตรวจการจ้าง รายการสิ่งก่อสร้างวิทยาเขตปัตตานี
หลักการเขียนโครงการ.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
Planing : ระบบการวางแผนงบประมาณ
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
โดย ดวงวรพร สิทธิเวทย์ ภารกิจ นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัย (Office of Research Policy and Strategy)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน ผลการประเมิน โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน

โครงการจัดตั้งกองแผนงาน จุดอ่อน 1. ยังขาดระบบการจัดเก็บข้อมูลเอกสารที่ดีเหมาะสมเนื่องจากจำเป็นต้องปฏิบัติงานที่เร่งด่วนอยู่เสมอ 2. มีภาระงานอื่นที่ได้รับมอบหมายนอกเหนือจากภาระหน้าที่ที่รับผิดชอบและขาดระบบของข้อมูลและสารสนเทศทำให้เวลาส่วนใหญ่ถูกใช้ไปกับการจัดข้อมูล การตรวจสอบความถูกต้อง ทำให้เวลาในการทำงานเชิงพัฒนาหรือการพัฒนางานใหม่ไม่มี 3. บุคลากรมีศักยภาพน้อยในการวิเคราะห์สังเคราะห์และการ รายงานผลการปฏิบัติงาน ขาดการวางแผนการทำงานในเชิงรุก 2

โครงการจัดตั้งกองแผนงาน 4. บุคลากรขาดความเชี่ยวชาญในเรื่องของการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการนำเสนอข้อมูลและ สารสนเทศ การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการออกแบบ เขียนแบบรวมถึงการประมาณราคา 5. ขาดบุคลากรเฉพาะทางในการออกแบบ 6. การทำวิจัยสถาบันยังมีน้อย โดยบุคลากรยังไม่มีความกระตือรือร้นในการทำเท่าที่ควร 7. การรวบรวมข้อมูลจะต้องขอความร่วมมือจาคณะ/หน่วยงานต่างๆ ต้องใช้เวลารวบรวมและเสียเวลาในการตรวจสอบโดยเฉพาะข้อมูลที่ต้องการเร่งด่วนทำให้ข้อมูลผิดพลาดได้ง่าย

โครงการจัดตั้งกองแผนงาน จุดแข็ง 1.ผู้บริหารเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมหรือรับรู้ยุทธศาสตร์แผนพัฒนาต่างๆ เพื่อดำเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์ 2. บุคลากรมีจิตบริการ ประสานงานได้ดี 3. บุคลากรมีความเป็นเอกภาพที่สามารถจะส่งเสริมสนับสนุนให้ ดำเนินงานไปได้ด้วยดี 4. สำนักงานอธิการบดี มีงบประมาณสนับสนุนในการทำวิจัยสถาบันอย่างเพียงพอเพื่อรองรับการทำงานวิจัยของบุคลากร

โครงการจัดตั้งกองแผนงาน ข้อเสนอแนะและการพัฒนาในภาพรวม 1. ควรปรับปรุงระบบการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายอย่างมีระบบ และตรงตามภาระงาน 2. ควรกำหนดตัวบ่งชี้เฉพาะให้เป็นไปตามภารกิจของหน่วยงานที่สามารถเล็งเห็นถึงผลการดำเนินงานเชิงประจักษ์ที่สะท้อนผลการดำเนินงานที่เป็นคุณภาพเชิงประจักษ์

โครงการจัดตั้งกองแผนงาน สิ่งที่ต้องพัฒนาอย่างเร่งด่วน 3-5 อันดับ (กองแผนงาน) ควรมีการจัดตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงานเพื่อกำหนดแผนกลยุทธ์/ยุทธศาสตร์ของหน่วยงานให้เป็นรูปธรรมที่ชัดเจน และเชื่อมโยงกับแผนคณะ/มหาวิทยาลัย รวมทั้งมีการวิเคราะห์ความสอดคล้องของแผนกับการดำเนินงานของกอง ทั้งในระดับมหาวิทยาลัยและระดับชาติ ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการดำเนินการพัฒนาสถาบันสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างเป็นรูปธรรม พัฒนาศักยภาพและเพิ่มบทบาทการวิจัยสถาบันเพื่อเป็นเครื่องมือในการสร้างความรู้อย่างต่อเนื่องและเป็นข้อมูล/แนวทางประกอบการวางแผนพัฒนาวิทยาเขต รวมทั้งเพื่อใช้ปรับแผนการดำเนินการของวิทยาเขตและหน่วยงานต่างๆ ภายในวิทยาเขต พัฒนาฐานข้อมูลและระบบการจัดเก็บข้อมูล/เอกสาร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน

โครงการจัดตั้งกองแผนงาน สิ่งที่ควรพัฒนา ปรับเพิ่มศักยภาพของบุคลากร พัฒนาระบบงาน ให้สอดคล้องกับภารกิจเฉพาะ เช่น เพิ่มความเชี่ยวชาญในเรื่องการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในการนำเสนอข้อมูลและสารสนเทศ และการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการออกแบบ เขียนแบบ รวมถึงการประมาณราคา ควรมีการจัดทำและรวบรวมข้อมูลความก้าวหน้า ปัญหาอุปสรรคของการสำรวจ ออกแบบ เขียนแบบและประมาณราคารายการที่ดินและสิ่งก่อสร้าง โดยกำหนดผู้รับผิดชอบให้ชัดเจน ระบบการมีส่วนร่วมและการสื่อความเข้าใจกันระหว่างผู้บริหาร บุคลากร และเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการสร้างแผนงานและจัดทำผังแม่บทวิทยาเขตปัตตานี

โครงการจัดตั้งกองแผนงาน ทิศทางการพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ การมีระบบข้อมูลการวางแผนที่ผู้บริหารสามารถ เข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ทันที

โครงการจัดตั้งกองแผนงาน ผลการพัฒนาตามข้อเสนอแนะจากการประเมินคุณภาพภายใน/ภายนอก มีความครบถ้วน นวัตกรรม ไม่มี แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices)

โครงการจัดตั้งกองแผนงาน สรุปข้อมูลจากการสัมภาษณ์ (บุคลากร 2,อาจารย์ 1) การให้บริการและการให้คำแนะนำปรึกษาอยู่ในเกณฑ์ดี โครงสร้างของหน่วยแม่บทและออกแบบก่อสร้างในงานประสานการวางแผน น่าจะเป็นความรับผิดชอบโดยตรงของงานอาคาร การประสานงานมักจะขอข้อมูลอย่างเร่งด่วน ควรมีการปรับปรุงข้อมูลพื้นฐานเพื่อใช้ในการวางแผนการดำเนินงานในส่วนงานที่เกี่ยวข้อง