กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
Advertisements

ทำไมต้องอบรม ? การสร้างเครือข่ายสังคมแห่งการเรียนรู้(Social Network)
ฝ่ายวิชาการ โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย
โรงเรียนภัทรญาณวิทยา
หลักสูตรโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
กิจการนิสิต (Student Affairs)
แนวคิด ในการดำเนินงาน
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ตามแผน มหาวิทยาลัยพายัพฉบับที่ 4 ปีการศึกษา เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ตามแผน มหาวิทยาลัยพายัพฉบับที่ 4 ปีการศึกษา
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
เป้าหมายของหลักสูตร/ การเรียนการสอน วิทยาศาสตร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
มาตรฐานวิชาชีพครู.
จากนโยบาย... สู่การปฏิบัติ
การจัดการศึกษาในชุมชน
การประเมินผลการเรียน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
หน่วย การเรียนรู้.
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การวัดผล (Measurement)
งานกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา
ยกระดับคุณภาพครูให้เป็น
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
นางสาวณัฏฐณิชา โพธิ์งาม
My school.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ประวัติการศึกษาไทย.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
๕. ด้านผลลัพธ์/ภาพความสำเร็จ
๓. ด้านการจัดกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน.
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
My school.
(Competency Based Curriculum)
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
ครั้งที่ ๒.
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
การนำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่การปฏิบัติเพื่อส่งเสริมการจัดการศึกษาวิชาชีพ เพื่อการมีงานทำ.
ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
กลยุทธ์การขับเคลื่อน งานพัฒนาชุมชน ให้มีประสิทธิภาพ ประจำปี ๒๕๕๖
ABAT วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
มีคุณธรรม นำวิชาการ สู่มาตรฐานสากล
ความเป็นครู.
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
การนำเสนอผลงานวิจัย โดย : นายเอกพงษ์ วรผล.
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
Backward Design โดย อาจารย์ประจำวิชาฟิสิกส์ชั้นปีที่ ๓
 ผู้วิจัย นายชัช อุ่น บุญธรรม  สังกัด วิทยาลัย เทคโนโลยีศรีธนา พณิชยการ เชียงใหม่
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4 ผศ.ดร.ไพศาล สุวรรณน้อย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

จาก พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ สู่ สถานศึกษา การพัฒนา หลักสูตรสถานศึกษา

ปัจจัยที่ต้องพิจารณา พ.ร.บ. การศึกษา หลักสูตรสถานศึกษา สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี ศิษย์เก่า ผู้ปกครอง ผู้เรียน ปัจจัยที่ต้องพิจารณา

? ทำไมต้องปรับปรุงหลักสูตรและ การจัดการเรียนการสอน

พ.ร.บ. กศ. หมวด ๔ แนวทางจัดการศึกษา มาตรา ๒๒ มาตรา ๒๒ การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพ มาตรา ๒๒ พ.ร.บ. กศ. หมวด ๔ แนวทางจัดการศึกษา

พ.ร.บ. กศ. หมวด ๔ แนวทางจัดการศึกษา มาตรา ๒๓ มาตรา ๒๓ การจัดการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ต้องเน้นความสำคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ และบูรณาการตามความเหมาะสม ของแต่ละระดับการศึกษาในเรื่องต่อไปนี้         (๑) ความรู้เรื่องเกี่ยวกับตนเอง และความสัมพันธ์ของตนเองกับสังคม ได้แก่ ครอบครัว ชุมชน ชาติ และสังคมโลก รวมถึงความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ความเป็นมาของสังคมไทยและระบบการเมือง การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข         (๒) ความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมทั้งความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์ เรื่องการจัดการ การบำรุงรักษาและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลยั่งยืน         พ.ร.บ. กศ. หมวด ๔ แนวทางจัดการศึกษา

พ.ร.บ. กศ. หมวด ๔ แนวทางจัดการศึกษา มาตรา ๒๓ (๓) ความรู้เกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญาไทย และการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา (๔) ความรู้ และทักษะด้านคณิตศาสตร์ และด้านภาษา เน้นการใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง (๕) ความรู้ และทักษะในการประกอบอาชีพและการดำรงชีวิตอย่างมีความสุข พ.ร.บ. กศ. หมวด ๔ แนวทางจัดการศึกษา

พ.ร.บ. กศ. หมวด ๔ แนวทางจัดการศึกษา มาตรา ๒๔ มาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการดังต่อไปนี้         (๑) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนโดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล         (๒) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา         (๓) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทำได้ คิดเป็นและทำเป็น รักการอ่านและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง พ.ร.บ. กศ. หมวด ๔ แนวทางจัดการศึกษา

พ.ร.บ. กศ. หมวด ๔ แนวทางจัดการศึกษา มาตรา ๒๔ (๔) จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกันรวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา         (๕) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอำนวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอนและแหล่ง วิทยาการประเภทต่าง ๆ         (๖) จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับบิดามารดาผู้ปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝ่าย เพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ         พ.ร.บ. กศ. หมวด ๔ แนวทางจัดการศึกษา

? หลักสูตรและรายวิชา ควรเป็นอย่างไร..?

กลุ่มวิชาบังคับ กลุ่มวิชาเลือก ลักษณะรายวิชาในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ กลุ่มวิชาบังคับ กลุ่มวิชาเลือก กลุ่มอ่อน ปานกลาง เก่ง เก่งมาก Enrichment Program: EP Advanced Position Program: AP

Authentic Learning การจัดการเรียนรู้ตามสภาพจริง เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การเรียนรู้แบบบูรณาการ Authentic Learning Authentic Learning Student Centered Learning Integrated Learning

การประเมินผลตามสภาพจริง Authentic Assessment การประเมินผลตามสภาพจริง AUTHENTIC ASSESSMENT

การประเมินหลักสูตร แบบอิงมาตรฐานการเรียนรู้ การเลือกกิจกรรมและแหล่งการเรียนรู้ การกำหนดสาระการเรียนรู้ การกำหนดเอกสารประกอบการเรียนรู้ ชิ้นงานและงานที่กำหนดให้ผู้เรียนปฏิบัติ เกณฑ์การประเมิน แนวการให้คะแนน การประเมินหลักสูตร

Discussion Q&A