วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
Advertisements

ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
สุจิตรา บำรุงกาญจน์ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู ภาคเหนือ
นาย ภัทราวุธ พิชาชญชัย วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิ เทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ศึกษาการใช้สื่อ CAI ในการเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
การพัฒนาเกมซ่อนคำศัพท์ภาษาอังกฤษมหาสนุก

ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
----- ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาสื่อการ์ตูนมัลติมีเดียสำหรับการสอนวิชา SPSS ชื่อผู้วิจัย นางเขมิกา ภาคเกษี สังกัดวิทยาลัย.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจ้าพระยา
การพัฒนาทักษะพื้นฐานเบื้องต้นในการแกะสลักผักและผลไม้แบบร่วมมือกันของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาการโรงแรม ผู้วิจัย : นางสาวรุ่งราตรี
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
การสร้างและพัฒนาชุดฝึกทักษะ การแก้โจทย์ปัญหา เรื่อง อนุพันธ์
การแก้ไขปัญหาทักษะการพิมพ์สัมผัสเพื่อพัฒนาความเร็วและ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
นางสุกัญญา พลรัตนมงคล วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลอง วิชาการขาย 2 เรื่องกระบวนการขายของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้เรียนชั้นปวช.1
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
เรื่อง การพัฒนาทักษะการพิมพ์หนังสือราชการภายนอก ในรายวิชาพิมพ์ไทยด้วยคอมพิวเตอร์ 2 โดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอน แบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักศึกษา ระดับ.
นางสาวทิพย์วรรณ จะปูน วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร เชียงใหม่
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
เรื่องระบบจำนวน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
ชื่อเรื่อง ความคิดเห็นที่มีต่อการเรียนการ สอน สาขาวิชาการจัดการทั่วไป ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางเยาวลักษณ์ อา ลักษณสุวรรณ.
วิชา เครื่องวัดไฟฟ้า รหัส
การศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการ สอนรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช. ) ชั้นปีที่ 1 กลุ่ม A11 และ A12.
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ งานวิจัย การพัฒนาสื่อมัลติมีเดีย วิดีทัศน์การกลึงปาดหน้าและกลึงปอกผิวโลหะ วิชา งานเครื่องมือกลเบื้องต้น (2100-1007) ผู้วิจัย นาย พลเทพ จิอู๋ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา จากปีการศึกษา 2554 ผู้วิจัยได้ทำงานวิจัยการพัฒนา สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง วิธีการลับมีดกลึง วิชา งานเครื่องมือกลเบื้องต้น (2100-1007) วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ กับกลุ่มนักศึกษาสาขาวิชาเครื่องมือกลและซ่อมบำรุง สาขางาน เครื่องมือกล ที่ได้เรียนในกระบวนรายวิชา งานเครื่องมือกลเบื้องต้น รหัสวิชา (2100-1007) ซึ่งเป็นวิชาชีพพื้นฐาน ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พุทธศักราช 2546) จากการศึกษาและการสังเกตเบื้องต้นของผู้วิจัยพบว่านักศึกษาส่วนใหญ่ที่เรียนรู้ผ่านสื่อสื่อมัลติมีเดีย เรื่อง วิธีการลับมีดกลึง ได้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาทักษะ การลับมีดกลึงได้ถูกต้องตามหลักปฏิบัติ และลับมีดกลึงได้ตามมุมและองศาที่ถูกต้องซึ่งเป็นปัจจัยที่ส่งผลทำให้มีดกลึง นำไปใช้งานได้เต็มประสิทธิภาพ

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ในปีการศึกษา 2556 ผู้วิจัยจึงมีแนวคิดที่จะทำงานวิจัยเพื่อต่อยอด ในเรื่อง การพัฒนาสื่อมัลติมีเดีย วิดีทัศน์การกลึงปาดหน้าและกลึงปอกผิวโลหะ วิชา งานเครื่องมือกลเบื้องต้น (2100-1007) เพื่อพัฒนาทักษะการกลึงปาดหน้าและกลึงปอกผิวโลหะ ซึ่งเป็นการต่อยอดทักษะการปฏิบัติงานการกลึงขึ้นรูป ไขควงแบน ในรายวิชา งานเครื่องมือกลเบื้องต้น (2100-1007) โดยใช้สื่อการเรียนการสอนประเภทต่างๆที่มีประสิทธิภาพ เข้ามาช่วยให้นักศึกษามีความเข้าใจหลักการของการกลึงปาดหน้าและกลึงปอกผิวโลหะมากยิ่งขึ้น

วัตถุประสงค์งานวิจัย 1. เพื่อพัฒนาสื่อมัลติมีเดีย เรื่อง วิดีทัศน์การกลึงปาดหน้าและการปอกผิวโลหะวิชา งานเครื่องมือกลเบื้องต้น (2100-1007) วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ 2. เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิผลของสื่อมัลติมีเดีย เรื่อง วิดีทัศน์การกลึงปาดหน้าและการกลึงปอกผิวโลหะ วิชา งานเครื่องมือกลเบื้องต้น (2100-1007)วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ

สมมุติฐานการวิจัย สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง วิดีทัศน์การกลึงปาดหน้าและการกลึงปอกผิวโลหะ วิชา งานเครื่องมือกลเบื้องต้น (2100-1007) วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูเหนือ ตามค่าดัชนีประสิทธิผล (Effectiveness Index : E.I.) มีค่ามากว่า 0.50

ตัวแปรและนิยามตัวแปร ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม สื่อมัลติมีเดีย วิดีทัศน์การกลึงปาดหน้าและการกลึงปอกผิวโลหะ วิชา งานเครื่องมือกลเบื้องต้น (2100-1007)   1.วิดีทัศน์การกลึงปาดหน้าและการกลึงปอกผิวโลหะ วิชา งานเครื่องมือกลเบื้องต้น (2100-1007) 2. ผลสัมฤทธิ์โดยการกลึงปาดหน้าและการกลึงปอกผิวโลหะ

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.ประชากรที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ นักศึกษาสาขาวิชา เครื่องมือกลและซ่อมบำรุง สาขางาน เครื่องมือกล ระดับ ปวช. ชั้นปีที่ 1 กลุ่มเรียน 411 จำนวน 28 คน ที่เรียนในรายวิชา งานเครื่องมือกลเบื้องต้น (2100-1007) ภาคเรียนที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2556 วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ 2. กลุ่มนักศึกษาสาขาวิชา เครื่องมือกลและซ่อมบำรุง สาขางาน เครื่องมือกล ระดับ ปวช. ชั้นปีที่ 1 กลุ่มเรียน 411 จำนวน 28 คน

เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง การกลึงปาดหน้าและการกลึงปอกผิวโลหะวิชา งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ประเภทวิดีทัศน์ ภาพ การกลึงปาดหน้าและการกลึงปอกผิวโลหะวิดีทัศน์

เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการปฏิบัติงานกลึงปาดหน้าและกลึงปอกผิวโลหะ ภาพ แบบงานกลึงปอกจากโปรแกรมAutoCAD 2007

สรุปผลการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาสื่อมัลติมีเดีย วิดีทัศน์การกลึงปาดหน้าและกลึงปอกผิวโลหะ วิชา งานเครื่องมือกลเบื้องต้น (2100-1007) วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ ประกอบด้วยขั้นตอน 3 ขั้นตอนคือ 1) การเตรียมการ 2) การผลิตวิดีทัศน์ 1 ตอน 3) การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์โดยการกลึงปาดหน้าและการกลึงปอกผิวโลหะ จำนวน 1 แบบทดสอบ 2. การพัฒนาสื่อมัลติมีเดีย วิดีทัศน์การกลึงปาดหน้าและกลึงปอกผิวโลหะ วิชา งานเครื่องมือกลเบื้องต้น (2100-1007) วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จากการคำนวณดัชนีประสิทธิผลคะแนนจากตาราง พบว่า ผลรวมของคะแนนก่อนเรียนรู้ผ่านสื่อมีค่าท่ากับ 385.5 ผลรวมของคะแนนหลังเรียนรู้ผ่านสื่อเท่ากับ 487.5 เมื่อนำคะแนนมาวิเคราะห์ดัชนีประสิทธิผลแล้วพบว่ามีค่านัยสำคัญเท่ากับ 0.5845 โดยดัชนีประสิทธิผลที่ใช้ได้ ควรมีค่า 0.50 ขึ้นไป แสดงให้เห็นว่า สื่อมัลติมีเดีย วิดีทัศน์การกลึงปาดหน้าและการกลึงปอกผิวโลหะ วิชา งานเครื่องมือกลเบื้องต้น (2100-1007) วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นสามารถเสริมสร้างผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 58.45

จบการนำเสนอ ขอบคุณครับ