การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง รายจ่ายในการใช้มือถือและ ปัญหาทางการได้ยิน ของนักศึกษาทันตแพทย์ ชั้นปีที่ 4
เหตุผลที่ทำการศึกษา ทำไมถึงเลือกทำการศึกษาในหัวข้อนี้ ◦ เลือกทำการศึกษาเรื่องนี้เพราะปัจจุบันโทรศัพท์มือถือ เป็นอุปกรณ์สื่อสารที่ใช้กันอย่างแพร่หลายและสำหรับ บางคนอาจใช้มากจนเกินความจำเป็น ทำให้เสีย ค่าใช้จ่ายมากอีกทั้งอาจก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพตามมา ได้ จึงต้องการศึกษาว่าค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับ โทรศัพท์มือถือส่งผลต่อการได้ยินที่ลดลงหรือไม่ เงินจำนวนนี้เป็นค่าใช้จ่ายของอะไรบ้าง ◦ จำนวนเงินเป็นค่าใช้จ่ายรายเดือนซึ่งรวมทั้งค่าโทรและ ค่าอินเตอร์เนต เนื่องจากผู้ใช้งานอาจใช้อินเตอร์เนตใน การโทรผ่านแอพพลิเคชันต่างๆรวมถึงการใช้ในการดู หนัง ฟังเพลงที่จะส่งผลต่อการได้ยินได้เช่นกัน
เหตุผลที่ทำการศึกษา เหตุใดจึงใช้จำนวนเงิน 400 บาทในการแบ่งกลุ่มเพื่อ ทำการศึกษา ◦ ใช้จำนวนเงิน 400 บาทเนื่องจากในโปรโมชันรายเดือน ส่วนใหญ่ของโทรศัพท์มือถือหากน้อยกว่า 400 บาทจะ โทรได้น้อยกว่าโปรโมชันที่ 400 บาทขึ้นไปและยังเล่น อินเตอร์เนตได้จำกัด ส่วนถ้าราคามากกว่า 400 บาทก็จะ โทรได้มากกว่าและเล่นอินเตอร์เนตได้ไม่จำกัด
การดำเนินการ การดำเนินการ หมายเหตุ ปัญหาทางการได้ยินทดสอบโดยใช้ application “Uhear” และจะ สรุปผลจากกราฟว่าถ้ามีความสามารถทางการได้ยินต่ำกว่าระดับ mild loss เกิน 7 จุด จะถือเป็นบุคคลที่มี hearing loss
Data layout : cross-sectional study a = นักศึกษาที่มีปัญหาทางการได้ยินและมีรายจ่ายในการใช้มือถือเกิน 400 บาทต่อเดือน b= นักศึกษาที่มีปัญหาทางการได้ยินและมีรายจ่ายในการใช้มือถือไม่ เกิน 400 บาทต่อเดือน c = นักศึกษาที่ไม่มีปัญหาทางการได้ยินและมีรายจ่ายในการใช้มือถือ เกิน 400 บาทต่อเดือน d = นักศึกษาที่ไม่มีปัญหาทางการได้ยินและมีรายจ่ายในการใช้มือถือ ไม่เกิน 400 บาทต่อเดือน a+b+c+d= จำนวนนักศึกษาทั้งหมดที่ทำการศึกษา Prevalence rate of disease in the sample = (a+c)/N
ปัญหาการได้ยินในนักศึกษาทันตแพทย์ชั้นปีที่ 4 ที่ใช้โทรศัพท์มือถือ Targetpop. นักศึกษาทันตแพทย์ชั้นปีที่ 4 Sample Inclusion criteria: นักศึกษาทันตแพทย์ชั้นปีที่ 4 ที่ไม่มีโรคของหู เช่น ไม่มีหูหนวก เป็นต้น Exclusion criteria: นักศึกษาทันตแพทย์ชั้นปีที่ 4 ที่มีโรค ของหู เช่น มีหูหนวก เป็นต้น Exposure รายจ่ายในการใช้มือถือ Outcome ปัญหาทางการได้ยิน Data collection methods: สัมภาษณ์และใช้การทดสอบ กับ application “Uhear”
จุดเด่น – จุดด้อยของ Cross-sectional study จุดเด่นของ cross-sectional ◦ - สามารถทำได้สะดวก รวดเร็ว ไม่ต้องเสียเวลาติดตาม ผล - เลือก sample ได้ง่ายเนื่องจากสามารถใช้ sample ที่มี หรือไม่มีโรคก็ได้ จุดด้อยของ cross-sectional ◦ - ไม่สามารถบอกได้แน่ชัดว่า outcome ที่เกิดขึ้นมาจาก ปัจจัยเสี่ยงที่เราศึกษาจริงหรือไม่เนื่องจากอาจมีปัจจัย อื่นที่ส่งผลทำให้เกิด disease ขึ้นได้ ◦ - ไม่ทราบลำดับเหตุการณ์ว่าเกิด expose หรือ outcome ขึ้นก่อน
ข้อจำกัด ข้อจำกัด 1. ไม่สามารถบอกได้ว่าค่าใช้จ่ายเกิดจากอะไรบ้าง อาจจะเกิดจากใช้ ในการโทรคุย เล่นอินเตอร์เน็ต หรือใช้ในการซื้อของในเกมส์ เป็นต้น 2. การที่หูได้ยินไม่ปกติไม่สามารถบอกได้ว่าเป็นเพราะโทรศัพท์หรือ ปัจจัยอื่น เช่น เล่นคอมพิวเตอร์ หรือชอบไปสถานที่ที่มีเสียงดังๆเป็น ประจำ เป็นต้น 3. อาจมีความคลาดเคลื่อนที่เกี่ยวกับสภาพแวดล้อม เช่น คนที่อยู่ในที่ ที่มีเสียงจะได้ยินเสียงไม่ชัดเท่าคนที่ทำการทดสอบในห้องที่เงียบ กว่า
ผลการศึกษา ผลการศึกษา Prevalence rate of disease among the sample P = (a+c)/N = 4/22 = 0.18 Prevalence rate of disease among the exposed (P 1 ) = a/(a+b) = 3/13 = 0.23 Prevalence rate of disease among the non-exposed (P 0 ) = c/(c+d) = 1/9 = 0.11
ผลการศึกษา ผลการศึกษา Prevalence ratio = Prevalence rate of disease among the exposed Prevalence rate of disease among the non-exposed = 0.23/0.11 = 2.09 Prevalence of hearing loss ในนักศึกษาทันตแพทย์ชั้นปีที่ 4 ที่มี รายจ่ายในการใช้มือถือมากกว่า 400 บาทต่อเดือน มากเป็น 2.09 เท่า ของในนักศึกษาทันตแพทย์ชั้นปีที่ 4 ที่มีรายจ่ายในการใช้มือถือน้อย กว่า 400 บาทต่อเดือน