การบันทึกข้อมูลสังกัดตามการ ปฏิบัติงานจริง 13- 14 ธันวาคม 2547 ณ ศูนย์คอมพิวเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การปรับเปลี่ยนการดำเนินการ ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล
Advertisements

ข้อบังคับกระทรวงกลาโหม
ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
สำนักงานตรวจสอบภายใน
อำนาจหน้าที่ของสภามหาวิทยาลัย เป็นไปตาม ตามมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ. ศ
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการการเงินของมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2546
Graduate School Khon Kaen University
งานพนักงานราชการและลูกจ้าง
4.1 การคัดเลือกผู้แทนสมาชิก
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับ
ประจำเดือนกุมภาพันธ์ ๕๕
อบรม โปรแกรมระบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์
Document Flow :: 3 Concepts
ระบบจัดการครุภัณฑ์ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การควบคุมการใช้ยานพาหนะและ การรายงานการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง
นางสาวสมถวิล ชูทรัพย์
การรับและนำส่งเงินรายรับค่ารักษาพยาบาล
การสั่งให้ข้าราชการที่ดำรงตำแหน่งในระดับควบตำแหน่งเลขที่หนึ่งไปแต่งตั้ง
ที่ว่าการอำเภอปะนาเระ
สำนักงานคณะกรรมการ การเลือกตั้งประจำจังหวัดปัตตานี
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
แนวปฏิบัติ การขอกำหนดตำแหน่งให้สูงขึ้น ของบุคลากรสายปฏิบัติการ
การสอบคัดเลือกตาม ว 34.
ขั้นตอนการดำเนินการ 1. ตรวจสอบตำแหน่งที่จะเปิดสอบ
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
การบัญชี 2 เงินสด (ต่อ).
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
บทที่ 11 ระบบสารสนเทศ.
บทที่19. การโอนบประมาณ.
ค่าใช้จ่ายในการจ้างเอกชนดำเนินงาน
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
ชื่อหน่วยงาน ฝ่าย/งาน ก.
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
สมบูรณ์ บุญกิจอนุสรณ์ กองงานด่านอาหารและยา
(ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน )
1 (ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน ) ว่าด้วยการเสนอ และการพิจารณาอนุมัติโครงการ.
การพิจารณาคำขอรับค่าตอบแทนและอนุมัติให้ได้รับค่าตอบแทนตามระเบียบ ก. พ
การตรวจราชการ กับการบริหารความเสี่ยง
ระบบเอกสารคุณภาพ เนาวรัตน์ เสียงเสนาะ สอิด
สาเหตุของการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในธุรกิจ
ปัญหา ช่องว่างค่าตอบแทน เมื่อเทียบกับสาธารณสุข กทม. เอกชน
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
กลุ่มที่ 1.
คือ ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์
1 การบันทึกในระบบ GFMIS ใน ปีงบประมาณ 2549 ที่แตกต่างจากปี 2548 โครงการ GFMIS โครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลัง ภาครัฐ สู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์
งานประเมินผลการปฏิบัติงาน พนักงานมหาวิทยาลัย ประจำปี
งานประเมินผลการปฏิบัติงาน ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ ประจำปี ครั้งที่ 1
Week 5 : การบริหารโครงการ
ฝ่ายบริหารทั่วไป หน้าที่ความรับผิดชอบ รับผิดชอบการปฏิบัติงานบริหารทั่วไป ได้แก่ งานธุรการ งานสารบรรณ งานการเงิน บัญชี และพัสดุ งานยานพาหนะ งานจัดทำและบริหารงบประมาณ.
ขั้นตอนการดำเนินการใช้จ่ายเงินรายได้
ซึ่งดำรงตำแหน่งที่ ก.พ. กำหนดเป็นระดับ 6
การเบิกจ่ายเงินรางวัล ประจำปีงบประมาณ 2555
บทบาทนายหมายเลข ๑ ผู้บังคับบัญชา ผู้บริหาร ผู้นำ ผู้ประสานงาน.
การประเมินผลโครงการ.  ชื่อโครงการ  หน่วยงานเจ้าของโครงการ  ผู้รับผิดชอบ  ระยะดำเนินการ  สถานที่ดำเนินการ  งบประมาณ  ผลผลิต  ความสอดคล้องในเชิงยุทธศาสตร์
จรรยาบรรณ นางสาวสมลักษณ์ ลวดเงิน พนักงานพัฒนากองทุนหมู่บ้าน
ผู้เข้าร่วมโครงการ Site Visit ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ
บทที่ 2 การจัดองค์กรขาย
Budgeting System.
Assessment and Evaluation System
ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ
ระเบียบการเบิกจ่ายงบประมาณ
Planing : ระบบการวางแผนงบประมาณ
การบริหารเงินทดรองจ่ายหมุนเวียนภายในส่วนงาน
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
1. ดำเนินการตามระเบียบการเงิน / การคลังที่เกี่ยวข้อง 2. ดำเนินการแล้ว เสร็จตามเวลาและ มีระบบป้องกันการสูญหาย 3. การป้องกันการคลาดเคลื่อนจาก การรับ - จ่ายเงินสด.
โครงการอบรมสร้างเสริมประสบการณ์บุคลากร รพ. สต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบันทึกข้อมูลสังกัดตามการ ปฏิบัติงานจริง ธันวาคม 2547 ณ ศูนย์คอมพิวเตอร์

โครงสร้างตามบัญชีถือจ่าย  คือ : การแบ่งหน่วยงานของ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตาม พรบ. ระเบียบ ข้อบังคับ หรือโดยอนุมัติของสภา มหาวิทยาลัย ซึ่งโครงสร้างตามบัญชีถือจ่ายเป็น โครงสร้างที่ถูกต้องตามกฏหมาย

ทำไมต้องมีสังกัดตามการปฏิบัติงาน จริง ?  สาเหตุ :: จากการเปิดใช้งานระบบสารสนเทศ ต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยที่ผ่านมาพบว่า บุคลากรจำนวนไม่น้อยที่มีสังกัดถือจ่าย ไม่ตรง กับกิจกรรมการทำงานที่ทำอยู่ หรือไม่ตรงกับ การบังคับบัญชา หรือไม่ตรงกับโครงสร้างการ บริหารงานจริง ๆ  ผลกระทบ :: ทำให้การทำงานของระบบต่าง ๆ ขัดแย้งกับความเป็นจริง ไม่สามารถรองรับความ ต้องการของผู้ใช้ได้ในบางส่วน  แนวทางแก้ไข :: ดังนั้นจึงต้องมีการจัดทำ ฐานข้อมูลสังกัดตามการปฏิบัติงานจริงขึ้นมา

โครงสร้างหน่วยงานตามการ ปฏิบัติงานจริง  คือ : การแบ่งหน่วยงานเพื่อความคล่องตัวใน การบริหารงานภายในของคณะ / หน่วยงาน ซึ่งมี การแบ่งหน่วยงานย่อยขึ้นเอง หรือเรียกชื่อ หน่วยงานย่อยแตกต่างจากหน่วยงานย่อยตาม บัญชีถือจ่ายที่กองการเจ้าหน้าที่มีอยู่

สังกัดตามการปฏิบัติงานจริง  คือ คณะ / หน่วยงานตามโครงสร้างหน่วยงาน ตามการปฏิบัติงานจริง ซึ่งบุคลากรไปปฏิบัติงาน อยู่ และอยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของผู้บริหาร ของหน่วยงานที่ไปปฏิบัติงานอยู่นั้น ซึ่งสังกัด ดังกล่าวอาจจะตรง หรือ ไม่ตรงกับสังกัดถือจ่าย ก็ได้

ผู้บริหาร  ตำแหน่งบริหารของหน่วยงานตามโครงสร้าง สังกัดตามการปฏิบัติงานจริง ซึ่งตำแหน่ง ดังกล่าวอาจจะเป็นตำแหน่งที่มหาวิทยาลัย แต่งตั้งเป็นลายลักษณ์อักษร หรือ ตำแหน่งที่ หน่วยงานแต่งตั้งเอง ซึ่งหน่วยงานทุกระดับตาม โครงสร้างสังกัดตามการปฏิบัติงานจริงจะต้องมี ผู้บริหารอย่างน้อยหนึ่งตำแหน่ง

กลุ่ม  คือ กลุ่มของบุคลากรตั้งแต่สองคนขึ้นไปที ทำงานในลักษณะเดียวกัน หรือทำงานแทนกัน ได้ เช่น กลุ่มเจ้าหน้าที่การเงิน กลุ่มเจ้าหน้าที่ สารบรรณ  กลุ่มเหล่านี้จะนำไปใช้ประโยชน์ในการระบบที่มี เอกสารเข้ามาเกี่ยวข้องเช่นการตรวจสอบ จำนวนเงินบนเอกสาร การส่งต่อเอกสาร และ การอนุมัติเอกสาร

สิ่งที่ตัวแทนคณะเตรียมมาแล้ว  ภายในคณะมีหน่วยงานอะไรบ้าง ( ลึกลงไป 1 ชั้น นั่นคือมีภาควิชาอะไรบ้าง )  ตำแหน่งบริหารของคณะมีตำแหน่งอะไรบ้าง และตำแหน่งนั้น ๆ ใครเป็นผู้ดำรงตำแหน่งอยู่  ภายในหน่วยงานย่อยระดับภาควิชาหรือ หน่วยงานที่เทียบเท่า มีใครเป็นผู้รับผิดชอบ ข้อมูล ( ตัวแทนระดับภาควิชา )

สิ่งที่ตัวแทนภาควิชาเตรียมมาแล้ว  ภายในภาควิชาหรือหน่วยงานที่เทียบเท่ามี หน่วยงานย่อยอะไรบ้าง ?  ตำแหน่งบริหารของภาควิชาหรือหน่วยงานที่ เทียบเท่ามีตำแหน่งอะไรบ้าง และตำแหน่งนั้น ๆ ใครเป็นผู้ดำรงตำแหน่งอยู่ ?  ภาควิชาหรือหน่วยงานที่เทียบเท่า มีใครสังกัด อยู่บ้าง ?  ภายในภาควิชาหรือหน่วยงานที่เทียบเท่า คนที่ ทำงานการเงินมีหรือไม่ ถ้ามีมีใครบ้าง ?  ภายในภาควิชาหรือหน่วยงานที่เทียบเท่า คนที่ ทำงานสารบรรณมีหรือไม่ ถ้ามีมีใครบ้าง ?

??? คำถามเกี่ยวกับระบบ MIS-DSS