ผู้วิจัย นางวราภรณ์ ทะนัน โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
Advertisements

แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ชื่อเรื่อง. ผลของการพัฒนาความรับผิดชอบของนักเรียนกลุ่มอ่อน
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร อ32204
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
ชื่อผู้วิจัย: นางสาวเมธิกา ชาพิมล
นางพรพรรณ สนทอง โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย นายสุวัฒน์ สุริยาวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
แก้ปัญหาพฤติกรรมการขาดความรับผิดชอบในการส่งงานโดยใช้หลักไตรสิกขา
ชื่อเรื่อง ผู้วิจัย นางสาวเบญจนี สุคันธเมศวร์
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
นางพรทิพย์ วิริยะโพธิการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ณัชช์ธรณ์ หอมกลิ่นเทียน

นายไพฑูรย์ กำลังดี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
การปรับพฤติกรรมความรับผิดชอบในการทำงาน
ผู้วิจัย นาง นิภารัตน์ ทองโคตร กลุ่มวิชาพื้นฐาน
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ทัศนคติของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส
นางชุติพัทธ์ ช่างประดิษฐ์ วิทยาอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
นางสาววราภรณ์ ว่องนัยรัตน์ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
นางสุกัญญา พลรัตนมงคล วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
การฝึกทักษะการเล่นลูกสองมือล่าง (อันเดอร์) โดยใช้กระบวนการฝึกทักษะของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 นางพัชลินทร์ แดงประเสริฐ.
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
พรชัย กิจเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง
การศึกษาผลการให้นักศึกษา ท่องชุดคำถามก่อนการสอบ รายหน่วยรายวิชาวิถีธรรมวิถี ไทยของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร.
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
โดย นางวัลภา เก่งอักษร
รายงานการวิจัย เรื่อง
โดย อาจารย์นันทิพร ม่วงแจ่ม
นางปิยนุช พงษ์เศวต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียน ในวิชาบัญชีเบื้องต้น 2
การใช้ชุดฝึกทักษะ การบันทึก รายการเกี่ยวกับสินค้า ใน สมุดรายวันเฉพาะ วิชาบัญชีเบื้องต้น 2 สำหรับนักเรียนชั้นประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ด้วยวิธีทัศน ศึกษาแบบบูรณาการ รายวิชา งานห้องผ้าและ ซักรีด ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 สาขาการโรงแรม.
นางสาววัชรา เชื้อรามัญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การเสริมสร้างทักษะกระบวนการ ทำงานด้านทักษะวิชาชีพ ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต กรณีศึกษา กิจกรรม การแข่งขัน การจัดแสดงสินค้ากลางแจ้ง.
ชื่อเรื่องวิจัย. การส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาระดับชั้นปวช
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
ชื่อผู้วิจัย ว่าที่ร้อยตรีหญิง ภรณ์ทิพย์ เทพธีระชัย สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนา พณิชยการ เชียงใหม่
งานวิจัย เรื่อง : การศึกษาผลการฝึกงานของนักเรียน
ชื่อเรื่อง ผู้วิจัย นางชลิตา บุญวันท์ การฝึกทักษะการพิมพ์ด้วยการใช้โปรแกรม เกมคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.1.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชามนุษยสัมพันธ์โดยใช้เทคนิคการทำงานเป็นทีม ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย นางบุษกร.
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเขียนตัวอักษร จีนโดยใช้แบบฝึกการเขียนตามลำดับขีดของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ผู้วิจัย วิชชุดา โรจนสวัสดิ์วงศ์
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการสร้างเว็บเพจ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย ที่ได้รับการสอนแบบ.
1. เพื่อเสริมสร้างเจตคติในการส่งงานของ นักศึกษาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ห้อง คธ ส่งเสริมนักศึกษาให้เป็นผู้ตรงต่อเวลาใน การทำงาน 3. เพื่อศึกษาสาเหตุของการไม่ส่งงาน.
โดย นางสาวสารภี ศุระศรางค์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้วิจัย นางวราภรณ์ ทะนัน โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย การศึกษาพฤติกรรมการส่งงานโดยใช้เงื่อนไขเวลา ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่1ห้อง A005 ผู้วิจัย นางวราภรณ์ ทะนัน โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย

ปัญหาการวิจัย ในวิชาเอกสารธุรกิจ มีเนื้อหาเกี่ยวกับเอกสารทางธุรกิจจำนวนมาก ได้แก่ เอกสารการเครดิตและการเงิน เอกสารการซื้อและการขายสินค้า เอกสารการขนส่ง เป็นต้น นักเรียนต้องมีความขยันอ่านและฝึกทักษะ การใช้เอกสารมากที่สุด จึงจะมีความรู้ ความเข้าใจเอกสารแต่ละ ประเภทได้ แต่เมื่อมอบหมายงานให้ทำ ก็มีนักเรียนจำนวนหนึ่งขาดความสนใจ ทำงานให้เสร็จตามเวลา ส่งงานล่าช้าเป็นประจำ ซึ่งจะมีผลทำให้ คะแนนเก็บน้อย หรืออาจจะไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินผลได้

วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการส่งงานโดยใช้เงื่อนไขเวลาของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ห้อง Ao05 2. เพื่อหาแนวทางทำให้นักเรียนมีการส่งงานมากขึ้น

การรวบรวมข้อมูล 1. ศึกษาพฤติกรรมการส่งงานของนักเรียน 4 สัปดาห์ ครูเก็บงานสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ทุก ๆ วันจันทร์ พบว่า นักเรียนที่ส่งงานไม่ตรงเวลาอยู่เป็นประจำ จะเป็น นักเรียนคนเดิม 2. ครูได้ชี้แจงเกี่ยวกับการส่งงานตามกำหนดเวลาจะได้คะแนนสูง และส่ง งานช้าจะได้คะแนนน้อย โดยกำหนดส่งงาน 3 ช่วงเวลา (ในคาบเรียน) คือ วัน จันทร์ วันพฤหัสบดี และวันจันทร์ ในสัปดาห์ถัดไป นักเรียนที่ส่งงานตรงเวลาจะ เพิ่มให้ 2 คะแนน นักเรียนที่ส่งงานช้าจะถูกตัดคะแนนช่วงละ 2 คะแนน 3. มีการติดตามงานของนักเรียน โดยซักถามในคาบเรียนกรณีที่นักเรียนไม่ ส่งงาน จนหมดเวลาในการส่ง (ไม่ส่งจนครบช่วงเวลาที่กำหนดส่ง) 4. มีการเสริมแรง ให้กำลังใจ ให้โอกาสและให้ความเป็นกันเองแก่นักเรียน ไม่ดุด่า เมื่อนักเรียนมาติดต่อขอทำงานแก้ตัว ซึ่งอาจล่าช้าไปบ้าง

ตารางเปรียบเทียบพฤติกรรมการส่งงาน สัปดาห์ที่ ส่งตรงเวลา ส่งล่าช้า ไม่ส่งงาน 1 14 คน (41.2%) 13 คน (38.2%) 7 คน (20.6%) 2 23 คน (67.6%) 4 คน (11.8%) 3 4 19 คน (55.9%) 2 คน (5.9%) 5 31 คน (91.2%) 3 คน (8.8%) - 6 28 คน (82.4%) 6 คน (17.6%) 7 29 คน (85.3%) 5 คน (14.7%) 8

สรุปผลการวิจัย นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 ห้อง AO05 มีพฤติกรรมการส่งงานในสัปดาห์ที่ 1-4 ก่อนกำหนดเงื่อนไข เวลา พบว่า นักเรียนบางคนไม่ส่งงานตามกำหนดเวลา บางคนก็ ส่งงานล่าช้า และบางคนไม่ส่งงาน และมีพฤติกรรมการส่งงานใน สัปดาห์ที่ 5-8 หลังกำหนดเงื่อนไขเวลา พบว่า นักเรียนส่งงาน ตามที่กำหนด ถึงแม้ว่าจะมีบางส่วนที่ส่งงานช้า แต่ก็ส่งงานครบ ทุกคน