คุณภาพน้ำและ มาตรฐานน้ำบริโภค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
Advertisements

ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
หน่วยเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
ลักษณะเป็นผลึก ไม่มีสี ละลายได้ดีในน้ำ
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
สารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
การจัดกลุ่มอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
การถนอมอาหาร.
เครื่องจ่ายน้ำยาเคมี (Anionic Polymer)
หน่วยประปา เรื่อง การควบคุมคุณภาพน้ำอุปโภค/บริโภค
แนวทางในการเลือกใช้เครื่องจักรบรรจุภัณฑ์ ในอตุสาหกรรมอาหาร
ถังบรรจุน้ำเย็น การใช้งานของผลิตภัณฑ์ วัสดุ เทคโนโลยีการขึ้นรูป
การทดสอบหาปริมาณแคลเซียมในน้ำดื่ม
ชื่อโครงงาน ค่า R.O.ในน้ำ
จับประเด็นเตรียมพร้อมสู่HA
การจัดหาน้ำสะอาด อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
ผงชูรสแท้หรือปลอม.
สินค้าเครื่องดื่ม เดิม ใหม่
บทนิยาม อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ อาคารสิ่งปลูกสร้าง
โครงการฝึกอบรมหลักสูตร เทคนิคการกำกับดูแลโรงงานสุรา
ขวดแชมพู รายวิชา เทคโนโลยีพลาสติกอุตสาหกรรม
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ
การดำเนินงาน อาหารแปรรูปในภาชนะพร้อมจำหน่าย
โครงการพัฒนามาตรฐานการจัดทำฉลากเคมีภัณฑ์
ตัวชี้วัดการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง กำหนดขนาด จำนวน และคุณภาพของเครื่องดับเพลิงสำหรับรถที่ใช้ในการขนส่งสัตว์หรือสิ่งของ ลักษณะ 4 (รถบรรทุกวัสดุอันตราย) พ.ศ.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การขึ้นทะเบียน การออกใบสำคัญ และการต่ออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ พ.ศ.2552.
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4031 (พ. ศ
ประกาศการทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4209 (พ. ศ
ประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยที่ 78/2554 เรื่องหลักเกณฑ์ทั่วไปในการระบายน้ำเสียเข้าสู่ระบบบำบัดน้ำเสียส่วนกลางในนิคมอุตสาหกรรม ประกาศ ณ วันที่
วิธีการตรวจสอบ Content Validity
ศูนย์เฝ้าระวังการเจ็บป่วยจากความร้อน รพ.พระมงกุฎเกล้า
สายใยในผัก โดย กลุ่ม รักสุขภาพ.
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
มาตรการควบคุมอาหารแปรรูป ที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย
ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันที่ใช้ทอด
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม การเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันเพื่อการส่งออก
ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)
การเก็บตัวอย่างและนำส่งตัวอย่าง ทางห้องปฏิบัติการด้านอาหาร
หนังสือเรียน รายวิชา ขนมไทย วิชา ขนมไทย
v v v v อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์โลหะและการปั๊มโลหะ
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
การเลือกบรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์
และความเป็นกรด-ด่างของดิน
โครงการ การพัฒนาศักยภาพ บุคลากรด้านการปราบปราม
มาตรฐานสินค้าเกษตร “ลำไย”
8.5 คุณภาพน้ำ ….. แบ่งออกเป็น 3 ด้าน
(B2E Rice Bran Oil and Germ)
น้ำมันรำข้าวและจมูกข้าว
ประกาศการทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4214 (พ. ศ
การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข
“การผลิตถังบรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวสำหรับเครื่องยนต์สันดาปภายใน”
มาตรฐานการสุขาภิบาลอาหาร สำหรับโรงอาหาร
หลักการเลือกซื้ออาหาร
“เอ็น (N) พี (P) และ เค (K)”
อาหารปลอดภัยด้านประมง
1. นาย สุทธิเกียรติ์ เดชแฟง ม.5/3 เลขที่ 4
ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร สำหรับแผงลอยจำหน่ายอาหาร
ปฏิบัติการเรื่อง การกลั่น
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
บทที่ 6 เกร็ดความรู้เกี่ยวกับอาหาร และเครื่องดื่ม
กฎหมายเกี่ยวกับการขนส่ง
ประกาศการทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4210 (พ. ศ
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คุณภาพน้ำและ มาตรฐานน้ำบริโภค 721-485 Industrial Water

คุณภาพน้ำบริโภค (DRINKING–WATER) มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม น้ำบริโภค มอก.257-2549 721-485 Industrial Water

น้ำบริโภค (DRINKING–WATER) ขอบข่าย มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนี้ครอบคลุมน้ำที่ใช้ บริโภคทั่วไปและน้ำที่ใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร 721-485 Industrial Water

น้ำบริโภค (DRINKING–WATER) บทนิยาม น้ำบริโภค น้ำที่ใช้ดื่ม รวมทั้งน้ำที่ใช้ทำอาหารและเครื่องดื่ม 721-485 Industrial Water

น้ำบริโภค (DRINKING–WATER) บทนิยาม หน่วยแพลนทินัม-โคบอลต์ (Platinum-Cobalt Scale) หน่วยวัดระดับความเข้มของสีแท้ของน้ำ เปรียบเทียบกับสีของสารละลายมาตรฐานโพแทสเซียมคลอโรแพลทิเนตกับโคบอลต์ (II) คลอไรด์ 721-485 Industrial Water

น้ำบริโภค (DRINKING–WATER) ประเภท น้ำบริโภค แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ ประเภทที่ 1 บรรจุในภาชนะบรรจุปิดสนิท ประเภทที่ 2 ไม่บรรจุในภาชนะบรรจุ 721-485 Industrial Water

น้ำบริโภค (DRINKING–WATER) คุณลักษณะที่ต้องการ ลักษณะทั่วไป ต้องปราศจากสิ่งแปลมปลอมและกลิ่นและรสที่ไม่พึงประสงค์หรือเป็นที่น่ารังเกียจ การทดสอบให้ทำโดยการตรวจพินิจ 721-485 Industrial Water

น้ำบริโภค (DRINKING–WATER) คุณลักษณะทางฟิสิกส์ สี ความขุ่น ค่าความเป็นกรด-ด่าง ต้องไม่เกิน 5 หน่วยแพลนทินัม-โคบอลต์ ต้องไม่เกิน 5 หน่วย NTU อยู่ระหว่าง 6.5-8.5 721-485 Industrial Water

น้ำบริโภค (DRINKING–WATER) คุณลักษณะทางเคมี ประเภทที่ 1 เป็นไปตามตารางที่ 1 721-485 Industrial Water

น้ำบริโภค (DRINKING–WATER) ตารางที่ 1 721-485 Industrial Water

น้ำบริโภค (DRINKING–WATER) คุณลักษณะทางเคมี ประเภทที่ 2 เป็นไปตามตารางที่ 1 หรือ อนุโลมให้เป็นไปตามตารางที่ 2 721-485 Industrial Water

น้ำบริโภค (DRINKING–WATER) ตารางที่ 2 721-485 Industrial Water

น้ำบริโภค (DRINKING–WATER) สารพิษ เป็นไปตามตารางที่ 3 721-485 Industrial Water

น้ำบริโภค (DRINKING–WATER) การบรรจุ ให้บรรจุน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่สะอาด มีฝาหรือจุกปิดผนึกโดยรอบระหว่างฝาหรือจุกกับภาชนะบรรจุ และเมื่อเปิดใช้แล้วสิ่งที่ปิดผนึกหรือส่วนที่ปิดผนึกนั้นเสียไป ปริมาตรสุทธิของน้ำบริโภคในแต่ละภาชนะบรรจุ ต้องไม่น้อยกว่าที่ระบุไวที่ฉลาก 721-485 Industrial Water

น้ำบริโภค (DRINKING–WATER) ตัวอย่างการผลิตน้ำในอุตสาหกรรมผลิตน้ำดื่ม 721-485 Industrial Water

721-485 Industrial Water

Thank you! 721-485 Industrial Water