งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
ฟอร์มาลิน ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์ ลักษณะเป็นของเหลวใส ไม่มีสี มีกลิ่นฉุน แสบจมูก และตา

2 ผลิตเคมีภัณฑ์พลาสติก สิ่งของ ผ้า รักษาผ้าไม่ให้ยับ หรือ ย่น
ใช้ในอุตสาหกรรม ผลิตเคมีภัณฑ์พลาสติก สิ่งของ ผ้า รักษาผ้าไม่ให้ยับ หรือ ย่น ใช้ในทางการแพทย์

3 ขึ้นกับปริมาณสารที่ได้รับ
ความเป็นพิษ ขึ้นกับปริมาณสารที่ได้รับ สัมผัสหรือสูดดม จะทำให้ผิวหนังอักเสบ ระคายเคืองตา จมูก ระบบทางเดินหายใจ และระบบทางเดินอาหาร

4 รับสารนี้จำนวนมากเข้าไปทางปากโดยตรง
ทำให้เกิดพิษเฉียบพลัน ปวดท้องอย่างรุนแรง อาเจียน อุจจาระร่วง ถ้ากินเข้าไปมาก ประมาณ มิลลิลิตร มีผลให้การทำงานของตับ ไต หัวใจ สมองเสื่อมลง หมดสติและตาย เนื่องจากระบบหมุนเวียนโลหิตล้มเหลว

5 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 93 (พ.ศ. 2528)
กำหนดให้ ฟอร์มาดีไฮด์ และพาราฟอร์มาดีไฮด์ เป็นวัตถุที่ห้ามใช้ในอาหาร

6 จำนวนตัวอย่างที่ตรวจได้ 1 ตัวอย่าง
ชุดทดสอบฟอร์มาลิน จำนวนตัวอย่างที่ตรวจได้ 1 ตัวอย่าง ระดับต่ำสุดที่ตรวจได้ 0.5 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม

7 อุปกรณ์ชุดทดสอบ 1. ผงทดสอบฟอร์มาลิน 1 1 ขวด 2.ผงทดสอบฟอร์มาลิน 2 1 ขวด
1. ผงทดสอบฟอร์มาลิน ขวด 2.ผงทดสอบฟอร์มาลิน ขวด 3.น้ำยาทดสอบฟอร์มาลิน ขวด 4.ถ้วยยาพลาสติก ใบ 5.หลอดหยด หลอด 6. คู่มือชุดทดสอบ แผ่น

8 วิธีการทดสอบ ก. เติมน้ำดื่มบรรจุขวดลงในผงทดสอบฟอร์มาลิน 1 จำนวน 50 มิลลิลิตร ปิดฝาจุกให้สนิท เขย่าให้ละลาย ข. เติมน้ำดื่มบรรจุขวดลงในผงทดสอบฟอร์มาลิน 2 จำนวน 50 มิลลิลิตร ปิดฝาจุกให้สนิท เขย่าให้ละลาย

9 1.1 ถ้าตัวอย่างเป็นของเหลวเทน้ำแช่อาหารลงในถ้วยยาพลาสติก ประมาณ 5 มิลลิลิตร
1.2 ถ้าตัวอย่างไม่มีน้ำ ให้ใช้น้ำสะอาด ล้างตัวอย่าง นำน้ำล้างใส่ลงในถ้วยพลาสติก ประมาณ 5 มิลลิลิตร

10 2. ใช้หลอดหยดหลอดที่ 1 ดูดน้ำในข้อ ก
2. ใช้หลอดหยดหลอดที่ 1 ดูดน้ำในข้อ ก. ประมาณ 1 มิลลิลิตร (2 ขีด) ใส่ลงในถ้วยยาพลาสติกข้อ 1 เขย่า

11 3. ใช้หลอดหยดหลอดที่ 2 ดูดน้ำในข้อ ข
3. ใช้หลอดหยดหลอดที่ 2 ดูดน้ำในข้อ ข. ประมาณ 1 มิลลิลิตร (2 ขีด) ใส่ลงในถ้วยยาพลาสติกข้อ 1 เขย่า

12 4. ใช้หลอดหยดหลอดที่ 3 ดูดน้ำยาทดสอบฟอร์มาลิน 3 ประมาณ 1 มิลลิลิตร (2 ขีด) ใส่ลงในถ้วยยาพลาสติกในข้อ 3 เขย่า สังเกตสีของสารละล่าย

13 การประเมินผล ถ้าสารละลายเป็นสีชมพูถึงสีแดง แสดงว่ามีฟอร์มาลิน ปนอยู่ในตัวอย่างอาหารนั้น

14 การปฏิบัติเมื่อใช้ชุดทดสอบเสร็จแล้ว
1. สารละลายฟอร์มาลิน 1,2 และน้ำยาทดสอบฟอร์มาลิน 3 : ปิดจุก ให้แน่นแล้วเก็บลงกล่อง 2. ถ้วยยาพลาสติก : เทน้ำในถ้วยทิ้ง ล้างด้วยน้ำ สะอาด คว่ำให้แห้ง แล้วเก็บลงกล่อง 3. หลอดหยด : ใช้หลอดหยดดูดน้ำสะอาดแล้วบีบทิ้ง ทำซ้ำ 3-4 ครั้ง ทิ้งไว้ให้แห้ง แล้วเก็บลงกล่อง

15 การเก็บรักษา/อายุการใช้งาน
ข้อควรระวัง  น้ำยาทดสอบฟอร์มาลิน 3 มีสภาพเป็นกรด หากหกเปื้อนมือหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายให้ล้างด้วยน้ำและฟอกสบู่ให้สะอาด  อย่าวางชุดทดสอบใกล้มือเด็ก การเก็บรักษา/อายุการใช้งาน  เก็บที่อุณหภูมิห้อง/ 2 ปี  ผงทดสอบฟอร์มาลิน 1 และ 2 เมื่อละลายด้วยน้ำ ดื่มบรรจุแล้ว จะเก็บที่อุณหภูมิห้องได้ ประมาณ 2 เดือน


ดาวน์โหลด ppt ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google