รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ICT & LEARN.
Advertisements

เปรียบเทียบครุศาสตร์อุตสาหกรรมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 25..
แนะนำรายวิชา GED40003 คอมพิวเตอร์กับชีวิต
รู้จัก TQF และแบบมคอ. จัดโดย งานการศึกษาคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
รายละเอียดของการทำ Logbook
โดย ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
ชื่อ-นามสกุลนักศึกษา รหัสนักศึกษา เลขที่ CS99
โครงการ การพัฒนาอีคอร์สใน รายวิชาศึกษาสังเกตและการมี ส่วนร่วม Development of E-course on Observation and Participation in.
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
ระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1
ดิจิตอลและการออกแบบตรรก
รหัสวิชา ระเบียบวิธีการวิจัย (Research Methodology)
แผนการเรียนรู้ เรื่อง การจัดองค์ประกอบของการถ่ายภาพ
เพื่อรับการประเมินภายนอก
นโยบายด้านการจัดการเรียนการสอน รายวิชาการศึกษาทั่วไป ผศ. ดร. ม. ร. ว
การจัดการเรียนรู้โดยการใช้ชุดมินิคอร์ส
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
แล้วต้องทำอย่างไร ?.
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
บทที่ 2 โครงการอบรม/สัมมนา.
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
รายละเอียดของรายวิชา
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
หมวด 1 การนำองค์กร การให้การสนับสนุนชุมชน ดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรใหม่ พ. ศ คณะ / วิทยาลัย
1. ชื่อสถาบัน ให้ระบุชื่อ สถาบันการศึกษา คณะวิชา และภาควิชาที่เปิดสอน หลักสูตร 2. ชื่อหลักสูตร ให้ระบุชื่อ หลักสูตรและสาขาวิชาให้ ชัดเจน แบบรายงานข้อมูลการ.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
แนวทางการวางแผนและจัดสรรอัตรากำลังสถาบันอุดมศึกษา
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2)
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
บทบาทหน้าที่ และคุณลักษณะ ของผู้ติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา
การประชาสัมพันธ์เบื้องต้น (Introduction to Public Relations)
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
ชี้ทาง “เรียน อย่างนี้สิจบแน่”
ระหว่างวันที่ กรกฎาคม 2557 ณ ภูเขางาม รีสอร์ท จ.นครนายก
การผลิตคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
กรอบมาตรฐาน คุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ พ. ศ ( มคอ.) เฉลิม วรา วิทย์
ADDIE Model.
มศว 365 การจัดการสมัยใหม่ (Principles of Modern Management)
การพัฒนาผลการเรียนรู้ในรายละเอียด ของรายวิชาระดับอุดมศึกษา
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
การสร้างสื่อ e-Learning
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) สุคนธ์ชื่น ศรีงาม คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) การอธิบายถึงแผนการจัดการเรียนการสอนในรายวิชา คล้ายคลึงแผน/ประมวลการสอน (course syllabus) ระบุผลการเรียนรู้ (แทนวัตถุประสงค์) ระบุวิธีการสอนและวิธีการประเมินผลการเรียนรู้

รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) (ต่อ) ระบุผลการเรียนรู้ ตามความรับผิดชอบที่ถ่ายทอดมาจากผลการเรียนรู้ของหลักสูตร ที่สามารถตรวจสอบย้อนกลับได้ การประเมินผลการเรียนรู้ต้องครบถ้วน กำหนดแนวทางในการประเมินประสิทธิผลการดำเนินงานและการปรับปรุง

องค์ประกอบของ มคอ.3 หมวดที่ 1. ข้อมูลทั่วไป หมวดที่ 2. จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ หมวดที่ 3. ลักษณะและการดำเนินการ หมวดที่ 4. การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา หมวดที่ 5. แผนการสอนและการประเมินผล หมวดที่ 6. ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน หมวดที่ 7. การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของ รายวิชา

หมวดที่ 1.ข้อมูลทั่วไป รหัสและชื่อรายวิชา จำนวนหน่วยกิต หลักสูตรและประเภทของรายวิชา อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน

หมวดที่ 1.ข้อมูลทั่วไป (ต่อ) 6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน 7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน 8. สถานที่เรียน 9. วันที่จัดทำ/ปรับปรุง ครั้งล่าสุด

หมวดที่ 2. จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ จุดมุ่งหมายของรายวิชา (ผลการเรียนรู้โดยรวม) วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุง (การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ)

หมวดที่ 3. ลักษณะและ การดำเนินการ คำอธิบายรายวิชา (ตามที่แสดงใน มคอ.2) จำนวนชั่วโมง (บรรยาย ปฏิบัติ ศึกษาด้วยตนเอง (บรรยาย 1 ชม.= ศึกษาด้วยตนเอง 2 ชม. ปฏิบัติ 1 ชม.= ศึกษาด้วยตนเอง 0.5 ชม.) 3. จำนวนชั่วโมงที่อาจารย์ให้คำปรึกษาแนะนำทางวิชาการนอกชั้นเรียนเป็นรายบุคคล

หมวดที่ 4. การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (แต่ละด้าน ระบุ 1.ผลการเรียนรู้ 2.วิธีการสอน 3.วิธีการประเมินผล)

หมวดที่ 5. แผนการสอนและการประเมินผล (ระบุหัวข้อ/รายละเอียด สัปดาห์ที่สอน จำนวนชั่วโมง กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ อาจารย์ผู้สอนตามหัวข้อ) แผนการประเมินผลการเรียนรู้ (ระบุการประเมินผลสำหรับผลการเรียนรู้ข้อต่างๆ ตามที่รับผิดชอบมาจากหลักสูตร)

หมวดที่ 6.ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน ตำราและเอกสารหลัก (ใช้ประกอบการสอน) เอกสารและข้อมูลสำคัญ (มอบหมายให้อ่าน) 3. เอกสารและข้อมูลแนะนำ (แนะนำให้อ่าน)

หมวดที่ 7. การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการ กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา (ข้อมูลป้อนกลับจากนักศึกษา) 2. กลยุทธ์การประเมินการสอน(อื่นๆ) (โดยผู้อื่น เช่น ผู้ร่วมสอน คณะกรรมการ ประเมิน) การปรับปรุงการสอน (กลไกและวิธีการปรับปรุง)

หมวดที่ 7. การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการ การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา (ตามที่กำหนดในรายละเอียดของหลักสูตร) การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา (กระบวนการนำผลจากข้อ 1,2 และ 4 มาวางแผนปรับปรุง)

บทสรุป รายละเอียดของรายวิชา เป็นแผนการจัดการเรียนการสอน ที่มุ่งผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ผลการเรียนรู้ของรายวิชา ต้องสอดคล้องตามความรับผิดชอบที่รับมาจากผลการเรียนรู้ของหลักสูตร

บทสรุป (ต่อ) ข้อกำหนดต่างๆ ในรายละเอียดของรายวิชา ให้ความมั่นใจว่า นักศึกษาสามารถบรรลุผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง การบรรลุผลการเรียนรู้ในรายวิชา นำไปสู่การบรรลุผลการเรียนรู้ของหลักสูตร