ผลการดำเนินงาน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดกิจกรรมโครงการฯ
Advertisements

แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
ประชุมบุคลากรประจำปีการศึกษา 2551
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การกำหนดโครงการ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย เพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติราชการปี 2554 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม 2553 ห้องประชุมวารินชำราบ.
7.1-1 ร้อยละผู้ที่สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพ
ยุ ทธศาสตร์ การพัฒนาสุขภาพ เศรษฐกิจพอเพียง กับ.
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
สายวิชาการ 58 คน ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2553 จำนวนคน.
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
แนวคิด ในการดำเนินงาน
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
ยินดีต้อนรับ คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหาร มจธ.
เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ตามแผน มหาวิทยาลัยพายัพฉบับที่ 4 ปีการศึกษา เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ตามแผน มหาวิทยาลัยพายัพฉบับที่ 4 ปีการศึกษา
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
วิสัยทัศน์ สหกรณ์และสถาบันเกษตรกร มีความเข้มแข็ง เป็นพลังในการพัฒนาประเทศ และสมาชิกอยู่ในสังคมที่อยู่เย็นเป็นสุข.
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
รศ.ดร.เกรียงไกร กิจเจริญ 18 เมษายน 2555
ประชุมพิจารณา ร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2556
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
หมวด 7 result 1. ECPE มิติที่ 7.1 ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน 2.
รศ.ดร.เกรียงไกร กิจเจริญ 18 ตุลาคม 2551
4 เมษายน 2560 หมวด 7 result.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
นายกิติศักดิ์ สินธุวนิช รองเลขาธิการฯ 30 มิถุนายน 2549
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ระดับกระทรวง และกรม
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่

รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
“ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance : QA)
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
รศ.ดร.วิโรจ อิ่มพิทักษ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ระบบคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การ วิจัย และนวัตกรรม พัฒนาการเรียนรู้ด้าน วิทยาศาสตร์ตั้งแต่วัยเด็ก ต่อเนื่องทุกระดับการศึกษา เพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ให้
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
มีคุณธรรม นำวิชาการ สู่มาตรฐานสากล
แนวคิดและทิศทางการพัฒนาประเทศ
โครงการจัดตั้งสายวิชาบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลการดำเนินงาน

ด้านการผลิตบัณฑิต นักศึกษารับเข้าใหม่

ด้านการผลิตบัณฑิต นักศึกษารับเข้าใหม่ สัดส่วนระดับปริญญาตรี ต่อ บัณฑิตศึกษา

ด้านการผลิตบัณฑิต นักศึกษาทั้งหมด

ด้านการผลิตบัณฑิต นักศึกษาทั้งหมด สัดส่วนระดับปริญญาตรี ต่อ บัณฑิตศึกษา

ด้านการผลิตบัณฑิต ผู้สำเร็จการศึกษา

ด้านการผลิตบัณฑิต ผู้สำเร็จการศึกษา สัดส่วนระดับปริญญาตรี ต่อ บัณฑิตศึกษา

ด้านการผลิตบัณฑิต สภาพการหางานทำของบัณฑิต (ร้อยละ)

ด้านการผลิตบัณฑิต ร้อยละความพึงพอใจของนายจ้าง

ด้านการวิจัย ผลงานวิจัยที่จดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา หมายเหตุ : ปี 2549 = 9 เดือน

ด้านการวิจัย ร้อยละบทความวิจัยได้รับการอ้างอิงระดับชาติ และนานาชาติ ต่อ อาจารย์ประจำ หมายเหตุ : ปี 2549 = 9 เดือน

ด้านการวิจัย จำนวนงานวิจัยที่ได้รับรางวัลระดับชาติและนานาชาติ หมายเหตุ : ปี 2549 = 9 เดือน

ด้านการวิจัย งบประมาณงานวิจัย จำแนกตามกลุ่มสาขา

ด้านการวิจัย จำนวนงบวิจัย ต่อ อาจารย์ และนักวิจัย (ล้านบาท) หมายเหตุ : ปี 2549 = 9 เดือน

ผลงานด้านการบริการวิชาการแก่ชุมชน จำนวนกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการที่ตอบสนองความต้องการของชุมชน ต่อ อาจารย์ประจำ หมายเหตุ : ปี 2549 = 9 เดือน

ผลงานด้านทำนุบำรุงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จำนวนกิจกรรม/โครงการด้านทำนุบำรุงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม หมายเหตุ : ปี 2549 = 9 เดือน

ด้านการบริหารจัดการ จำนวนบุคลากรด้านวิชาการ / ด้านสนับสนุนวิชาการและปฏิบัติงาน

ด้านการบริหารจัดการ สัดส่วนบุคลากรด้านวิชาการ ต่อ ด้านสนับสนุนวิชาการ/ปฏิบัติงาน

ด้านการบริหารจัดการ สัดส่วนคุณวุฒิของอาจารย์ ตรี : โท : เอก

ด้านการบริหารจัดการ สัดส่วนตำแหน่งทางวิชาการ อ. : ผศ. : รศ. : ศ.

ด้านการบริหารจัดการ สัดส่วนงบประมาณแผ่นดิน : เงินรายได้ (ล้านบาท) (รวมเงินบำรุงโรงพยาบาล)

ผลการประเมินผล การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2546 ระดับดีมาก 11 หน่วยงาน ระดับดี 16 หน่วยงาน ปีการศึกษา 2547 ระดับดีเลิศ 1 หน่วยงาน ระดับดีมาก 20 หน่วยงาน ระดับดี 9 หน่วยงาน ปีการศึกษา 2548 ระดับดีเลิศ 2 หน่วยงาน ระดับดีมาก 27 หน่วยงาน ระดับดี 5 หน่วยงาน

ผลการประเมินผล การประกันคุณภาพการศึกษาภายนอก จาก สมศ. ปี 2546 ปี 2548 ผ่านการรับรองจาก สมศ. ปี 2548 ระดับคะแนน 4.35 (คะแนนเต็ม 5.0) (ระดับ ดี ค่อนข้างมาก เนื่องจากตัวเลขยังไม่นิ่ง)

ผลการประเมินผล การประเมินผลการปฏิบัติราชการ จาก ก.พ.ร. ปี 2547 ปี 2548 ระดับคะแนน 4.8276 (คะแนนเต็ม 5.0) ปี 2548 ระดับคะแนน 4.5067 (คะแนนเต็ม 5.0)

การจัดอันดับเพื่อประเมินศักยภาพมหาวิทยาลัยไทย โดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ปี 2548 ด้านการเรียนการสอน อยู่ในกลุ่มดีเลิศ (คะแนนการประเมินมากกว่า 75) ด้านการวิจัย

การจัดอันดับมหาวิทยาลัยไทย โดย Ministry of Education SINGAPORE ปี 2546 Science and Technology Ranking อันดับ 3 (65.26 คะแนน) Humanity and Social Science Ranking อันดับ 6 (65.58 คะแนน) Overall Multi – disciplinary อันดับ 4 (65.81 คะแนน)

แผนพัฒนาการศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระยะที่ 10 (พ.ศ. 2550 – 2554) “ร่าง” แผนพัฒนาการศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระยะที่ 10 (พ.ศ. 2550 – 2554)

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง แนวทางการดำรงอยู่ การปฏิบัติตน ในทุกระดับ ครอบครัว ชุมชน รัฐ - ในการพัฒนา บริหารประเทศ แนวคิด พอประมาณ หลักการ มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี มีเหตุผล ความรอบรู้ ความรู้ในตัวคน ในหลักวิชา รอบคอบ ระมัดระวัง คุณธรรม ซื่อสัตย์ สุจริต ความเพียร อดทน ขยันหมั่นเพียร เงื่อนไข

วิสัยทัศน์ประเทศไทย (จาก “ร่าง” แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 : คณะรัฐมนตรี รับทราบ วันที่ 15 สิงหาคม 2549) มุ่งพัฒนาสู่ “สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน (Green and Happiness Society) คนไทยมีคุณธรรมนำความรอบรู้ รู้เท่าทันโลก ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง สังคมสันติสุข เศรษฐกิจมีคุณภาพ เสถียรภาพ และเป็นธรรม สิ่งแวดล้อมมีคุณภาพ และทรัพยากร ธรรมชาติยั่งยืน อยู่ภายใต้ระบบบริหารจัดการประเทศ ที่มีธรรมาภิบาลดำรงไว้ซึ่งระบอบประชาธิปไตย ที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข และอยู่ในประชาคมโลก ได้อย่างมีศักดิ์ศรี”

การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน Strengths ด้านผลิตบัณฑิต - อาจารย์ด้านวิชาการมีความรู้ คุณวุฒิ ความเชี่ยวชาญในสาขาต่างๆ - ระบบสารสนเทศเพื่อการศึกษามีประสิทธิภาพและทันสมัย - บัณฑิตมีคุณภาพเป็นที่พึงพอใจของนายจ้าง ด้านการวิจัย - ศูนย์วิจัยเฉพาะทาง ศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการ ศูนย์บ่มเพาะ ธุรกิจเป็นที่ยอมรับ - ผลงานวิจัยได้รับการตีพิมพ์ทั้งในระดับประเทศและนานาชาติ - งานวิจัยและนวัตกรรมใหม่ที่เป็นประโยชน์ ด้านบริการวิชาการ - มีความเชี่ยวชาญทางการแพทย์เฉพาะทาง - มีเครื่องมือและเทคโนโลยีที่ทันสมัย

การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน Strengths ด้านการบริหารจัดการ - สภามหาวิทยาลัยที่มีประสิทธิภาพ - การบริหารจัดการยุคใหม่ (BSC, e-Office) - ระบบงบประมาณและการเงินที่มีประสิทธิภาพ (SPBB, บัญชี 3 มิติ, GFMIS, e-Auction) - ภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อมที่ดี

การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน Weaknesses การเตรียมการพัฒนาอาจารย์รุ่นใหม่ทดแทนอาจารย์ที่เกษียณล่าช้า อัตราเงินเดือน และค่าตอบแทนตามระบบราชการไม่เพียงพอต่อค่าครองชีพ ทำให้ขาดแรงจูงใจในการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษาค่อนข้างต่ำ ทำให้ต้องพึ่งพางบประมาณแผ่นดินมากกว่าร้อยละ 50 หลักสูตรบางสาขาวิชาไม่สอดคล้องกับความต้องการของสังคม/ตลาด บุคลากรบางส่วนไม่สามารถปรับตัวให้ทันกับการบริหารจัดการยุคใหม่ การบริหารแบบราชการมีความล่าช้าและขั้นตอนมาก

การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก Opportunities การปฏิรูปการศึกษา ทำให้มหาวิทยาลัยมุ่งสู่การเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้และส่งผลต่อคุณภาพของบัณฑิต นโยบายการขับเคลื่อนนวัตกรรมของประเทศ โดยสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาทางเทคโนโลยีชีวภาพ นาโนเทคโนโลยี วัสดุศาสตร์และเทคโนโลยี สอดคล้องกับศักยภาพและองค์ความรู้ของมหาวิทยาลัย นโยบายและปรับเปลี่ยนสถานภาพเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับทำให้มีการพัฒนา ปรับเปลี่ยนวิธีการบริหารจัดการของมหาวิทยาลัยให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดที่มุ่งเน้นการพัฒนาเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจ เชื่อมโยงกับกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง (GMS) และเอเชียใต้ (BIMSTEC) สอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัยที่จะร่วมพัฒนาประเทศและอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง

การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก Threats กลยุทธ์การตลาดเชิงรุกของมหาวิทยาลัยเอกชนทั้งในและต่างประเทศ ที่สามารถทำการตลาดได้ดีกว่า ทำให้มหาวิทยาลัยต้องมุ่งวิเคราะห์ความต้องการของผู้รับบริการ FTA ที่ส่งผลให้สถาบันการศึกษาของต่างประเทศ มาจัดตั้งในประเทศเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้มหาวิทยาลัยต้องพัฒนาคุณภาพบัณฑิต เพื่อสามารถแข่งขันได้ กองทุน ICL มีผลกระทบต่อการจัดการงบประมาณของมหาวิทยาลัย การจัดตั้งมหาวิทยาลัยใหม่ส่งผลกระทบต่อการแข่งขันทางด้านการศึกษา

วิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำตามมาตรฐานสากล ที่มุ่งเน้นการวิจัย มีการผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรมและคุณภาพ มีการบริหารจัดการที่ดีตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถพัฒนาตนเองได้อย่างยั่งยืน วิสัยทัศน์ 1. พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อให้ได้บัณฑิตที่พึงประสงค์ 2. พัฒนามหาวิทยาลัยให้เป็นมหาวิทยาลัยที่มุ่งเน้นการวิจัย 3. พัฒนาบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมบนฐานความต้องการของชุมชน และท้องถิ่น 4. ทำนุบำรุงศาสนา ศิลป-วัฒนธรรม อนุรักษ์ และพัฒนาทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5. พัฒนามหาวิทยาลัยตามหลักการบริหาร จัดการที่ดีและพัฒนาสู่ระดับสากล ยุทธศาสตร์ บัณฑิตที่พึงประสงค์ มหาวิทยาลัยวิจัย เป็นที่พึ่งและร่วมพัฒนาชุมชน อนุรักษ์ ทำนุบำรุงศาสนา ศิลปวัฒน ธรรมความหลากหลายทางชีวภาพ การบริหารจัดการอย่างมีธรรมาภิบาลมี ประสิทธิภาพ มุ่งสู่ระดับสากล การพึ่งพาตนเอง บุคลากรมีคุณภาพและมีความสุข เป้าประสงค์

เป้าประสงค์ : บัณฑิตที่พึงประสงค์ เป้าประสงค์ : บัณฑิตที่พึงประสงค์ กลยุทธ์ เป้าหมาย ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ความสามารถ มีคุณธรรม จริยธรรม ตามความต้องการของสังคม แสวงหานักเรียนที่มีคุณภาพเข้าเรียนเพิ่มขึ้น จัดกิจกรรมสร้างคุณภาพบัณฑิตร่วมกับภาครัฐและเอกชน แสวงหาความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต่างประเทศ เพิ่มและพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ด้วยตนเอง กำหนดมาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษาอย่างเป็นระบบ ความพึงพอใจในการใช้บัณฑิตร้อยละ 81.0 สัดส่วนการผลิตบัณฑิตปริญญาตรี ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ต่อ ด้านสังคมและมนุษย์ 60 : 40 บัณฑิตสำเร็จการศึกษาตามระยะของหลักสูตร ร้อยละ 85 สัดส่วนบัณฑิตปริญญาตรี ต่อ บัณฑิตศึกษา 65 : 35 สัดส่วนนักเรียนเรียนดี ต่อ นักศึกษารับเข้า 1: 10 ความสำเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับ 5 ประกอบด้วยตัวชี้วัด 16 ตัวชี้วัด

เป้าประสงค์ : มหาวิทยาลัยวิจัย เป้าประสงค์ : มหาวิทยาลัยวิจัย กลยุทธ์ เป้าหมาย สร้างทีมวิจัยที่แข็งแกร่งในระดับนานาชาติ และสร้างคุณภาพของงานวิจัยให้เกิดความเข้มแข็งโดยความร่วมมือระหว่างอาจารย์กับบัณฑิต ศึกษา สร้างประเด็นวิจัยบนฐานองค์ความรู้ ที่เป็นอัตตลักษณ์ และส่งเสริมการแข่งขันของประเทศ ผลักดันงานวิจัยในลักษณะบูรณาการร่วมกับภาครัฐและเอกชน เพื่อสนอง ตอบความต้องการของสังคม จัดระบบบริหาร และการจัดการงานวิจัยอย่างบูรณาการให้เกิดมูลค่า คุณค่าและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการ 24 ศูนย์ ผลงานวิจัยที่จดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา ปีละ 20 ผลงาน บทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงระดับชาติและนานาชาติ ร้อยละ 60 ต่อปี สร้างงานวิจัยที่เป็นอัตตลักษณ์และส่งเสริมการแข่งขันเพิ่มขึ้นทุกปี รางวัลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ ปีละ 5 รางวัล สนับสนุนงบวิจัยบูรณาการร่วมกับภาครัฐและเอกชน ต่อ งบประมาณแผ่นดิน ร้อยละ 0.5 ต่อปี มีงบวิจัย ต่อ อาจารย์ประจำ เป็น 0.800 : 1 ประกอบด้วยตัวชี้วัด 12 ตัวชี้วัด

เป้าประสงค์ : เป็นที่พึ่งและร่วมพัฒนาชุมชน เป้าประสงค์ : เป็นที่พึ่งและร่วมพัฒนาชุมชน กลยุทธ์ เป้าหมาย นำทุนทางสังคม ทรัพยากร และ ภูมิปัญญาที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาพัฒนาต่อยอด เรียนรู้ร่วมกับชุมชน และถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีสู่ชุมชน กิจกรรม/โครงการบริการวิชาการ และวิชาชีพ ที่ตอบสนองความต้องการของชุมชน ประเทศ และอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ต่อ อาจารย์ประจำ เท่ากับร้อยละ 100 มีแหล่งให้บริการวิชาการ และวิชาชีพ เป็นที่ยอมรับในระดับชาติ นานาชาติ จำนวน 15 แห่ง ความสำเร็จของการรักษาพยาบาล เพื่อการศึกษาวิจัย ร้อยละ 98 ในแต่ละปี ประกอบด้วยตัวชี้วัด 6 ตัวชี้วัด

เป้าประสงค์ :. อนุรักษ์ ทำนุบำรุงศาสนา. ศิลปวัฒนธรรม เป้าประสงค์ : อนุรักษ์ ทำนุบำรุงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ กลยุทธ์ เป้าหมาย อนุรักษ์ สืบสาน พัฒนา เผยแพร่เอกลักษณ์ ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาล้านนา ส่งเสริมการใช้ความรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเพื่ออนุรักษ์ และทำนุบำรุงศาสนา ศิลปวัฒนธรรมล้านนา กิจกรรม/โครงการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม คิดเป็นร้อยละ 5 ของนักศึกษาเต็มเวลาระดับปริญญาตรี การสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ร้อยละ 1.5 ของงบดำเนินการ ความสำเร็จในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม และพัฒนาทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ระดับ 5 ประกอบด้วยตัวชี้วัด 6 ตัวชี้วัด

เป้าประสงค์ : เพื่อให้การบริหารจัดการอย่าง มีธรรมาภิบาล มีประสิทธิภาพ มุ่งสู่ระดับสากล กลยุทธ์ พัฒนาระบบการบริหารจัดการในทุกๆ ด้าน โดยเปลี่ยนจากการกำกับและควบคุมมาเป็นการมอบอำนาจ ลดต้นทุน และเพิ่มผลิตภาพในการบริหารจัดการ แก้ไขกฎระเบียบเพื่อลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน และพัฒนาเครื่องมือด้านการเงินการคลังให้มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และสร้างความเป็นธรรม จัดทำและพัฒนาระบบ MIS ส่งเสริมให้บุคลากร ศิษย์เก่า ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนามหาวิทยาลัย จัดการความรู้อย่างครบวงจร กำหนด และสนับสนุนให้มีการปฏิบัติตามจรรยาบรรณ วิชาชีพคณาจารย์

เป้าประสงค์ : เพื่อการพึ่งพาตนเอง เป้าประสงค์ : เพื่อการพึ่งพาตนเอง กลยุทธ์ เปิดหลักสูตรใหม่ที่ตอบสนองความต้องการของสังคม จัดการศึกษาในระบบทางไกล เพื่อการพึ่งตนเองได้ พัฒนาการใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญา และนวัตกรรมใหม่ร่วมกับภาคเอกชน แสวงหารายได้จากทรัพย์สินที่มีอยู่ และใช้ศักยภาพของศิษย์เก่า ในการหาเงินรายได้ มหาวิทยาลัยทำหน้าที่เป็น Holding Company ทำการลงทุนโครงการต่างๆ แสวงหารายได้จากการให้บริการวิชาการในรูปแบบต่างๆ

เป้าประสงค์ : บุคลากรมีคุณภาพและมีความสุข เป้าประสงค์ : บุคลากรมีคุณภาพและมีความสุข กลยุทธ์ พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้คู่คุณธรรม เสริมสร้างสุขภาวะของบุคลากรให้มีสุขภาพแข็งแรง ทั้งร่างกาย และจิตใจ สร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในการทำงานที่ดีเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต

เป้าประสงค์ทั้ง 3 สู่เป้าหมาย สามารถเทียบเคียง (Bench Marking) กับมหาวิทยาลัยทั้งในและต่างประเทศ ภายในประเทศ - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี - มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ - มหาวิทยาลัยมหิดล ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ต่างประเทศ - มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ - มหาวิทยาลัยฮ่องกง รายได้จากทรัพย์สินที่มีอยู่ เพิ่มขึ้น 2 เท่าในปี 2550 ขยายเขตการศึกษามหาวิทยาลัย เชียงใหม่ “หริภุญชัย” จังหวัดลำพูน และจัดตั้งศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัย เชียงใหม่ “อินทนนท์” ในปี 2550 ความสำเร็จการบริหารจัดการในระดับ Thailand Quality Certificate (TQC) / Thailand Quality Award (TQA) ประกอบด้วยตัวชี้วัด 22 ตัวชี้วัด รวมตัวชี้วัด 62 ตัวชี้วัด

สรุปภาพรวมของแผนพัฒนาการศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระยะที่ 10 Road Map การบริหารและติดตามประเมินผล แผนพัฒนาการศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระยะที่ 10

Roadmap มหาวิทยาลัยชั้นนำ ตามมาตรฐานสากล Benchmarking TQA ม. ในประเทศ ม.ต่างประเทศ บัณฑิตที่พึงประสงค์ มหาวิทยาลัย ที่มุ่งเน้นการวิจัย TQA (Thailand Quality Award) บริการวิชาการ แบบมีส่วนร่วมบนฐาน ความต้องการของชุมชน อนุรักษ์ ทำนุบำรุงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากร ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ความสามารถ มีคุณธรรม จริยธรรมตามความต้องการของสังคม สร้างทีมวิจัย และคุณภาพงานวิจัย เป็นที่พึ่ง และร่วมพัฒนาชนบท อนุรักษ์ และทำนุบำรุงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ การบริหารจัดการที่ดีมีประสิทธิภาพ บริหารจัดการอย่างมีธรรมาภิบาล พึ่งพาตนเอง บุคลากรมีคุณภาพ และมีความสุข กระจายอำนาจ ลดต้นทุน แก้ไข ปรับปรุง กฎระเบียบ ข้อบังคับ ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน พัฒนาระบบ MIS KM จรรยาบรรณในวิชาชีพ บุคลากรมหาวิทยาลัย การหารายได้จากการบริหารทรัพย์สิน ต้นทุน/ค่าใช้จ่าย การจัดการทรัพย์สิน มหาวิทยาลัยเป็น Holding Company ศักยภาพศิษย์เก่าแสวงหารายได้ พัฒนาทักษะ ความรู้ คุณธรรมจริยธรรม เสริมสร้างสุขภาวะ สร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมการทำงาน

การบริหารแผน และการติดตามประเมินผล แผนพัฒนาการศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระยะที่ 10 การบริหารจัดการ การติดตามผล การปรับแผน สภามหาวิทยาลัยให้ความเห็นชอบแผนฯ แจ้งแผนฯ แก่คณะ/หน่วยงาน และองค์กรในกำกับ คณะ/หน่วยงานจัดทำแผนงาน-แผนเงิน ประจำปีงบประมาณของหน่วยงาน มหาวิทยาลัยกำกับดูแลคณะ-หน่วยงานให้เป็นไปตามกรอบแผนฯ ของมหาวิทยาลัย ใช้เครื่องมือและเทคนิคสนับสนุนการบริหารแผน - Balanced Scorecard - ปรับปรุง/ลดขั้นตอน การปฏิบัติงาน - (FIS, MIS, e-Office) คณะ/หน่วยงานจัดทำรายงานผลการดำเนินงาน ประจำปี มหาวิทยาลัยวิเคราะห์ สรุปผล ผลการปฏิบัติงานประจำปีเสนอต่อผู้บริหารและสภามหาวิทยาลัย ทำรายงานผลการปฏิบัติราชการประจำปีตามคำรับรอง ก.พ.ร. ติดตามความก้าวหน้า และประเมินผลระยะครึ่งแผนฯ ประเมินผลแผนฯ เมื่อสิ้นสุดแผน ทบทวนยุทธศาสตร์ เป้าหมาย และวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT) เสนอแผนที่ปรับต่อที่ประชุมคณบดีและสภามหาวิทยาลัยเพื่อให้ความเห็นชอบ