การใช้กิจกรรมกลุ่มเกมแข่งขันเพื่อส่งเสริมความรู้ด้านไวยากรณ์และความสามารถด้านการเขียนภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
Advertisements

วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ โดย นางสาวพรรัมภา ชูรักษ์
ผู้วิจัย นายธีรภัทร พึ่งเนตร
การพัฒนาความสามารถในการจำศัพท์และการเขียน ภาษาอังกฤษโดยการใช้กิจกรรมผังความสัมพันธ์ทาง ความหมาย สำหรับนักศึกษาระดับชั้น ปวส.
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
การใช้วิธีสอนแบบซินดิเคทในการสอนวิชาภาษาไทย
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
ABAT วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนยีวิมล.
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
เรื่องเลขยกกำลัง วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
วิชานิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวประพันธ์ศรี สมจันทร์ฉาย
ผู้วิจัย : นายสิทธิชัย โกเสนตอ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
***นำเสนอผลงานวิจัย***
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การใช้แนวการสอนภาษาที่เน้นคำศัพท์เพื่อส่งเสริมความรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ ความสามารถทางการอ่านและแรงจูงใจของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ Use of Lexical.
นางสาวพรสุดา ดอกบัว วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย โดยจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ด้วยวิธี STAD ของนักเรียน 501 สาขางานการบัญชี
การส่งเสริมความสามารถด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
โดย นางวัลภา เก่งอักษร
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
การพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดฝึกทักษะการอ่านออกเสียงของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่องวิจัย. การส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาระดับชั้นปวช
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชามนุษยสัมพันธ์โดยใช้เทคนิคการทำงานเป็นทีม ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย นางบุษกร.
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
นายขวัญชัย ดวงทนัน วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การใช้กิจกรรมกลุ่มเกมแข่งขันเพื่อส่งเสริมความรู้ด้านไวยากรณ์และความสามารถด้านการเขียนภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 1 Use of Team Game Tournament to Develop English Grammar Knowledge and Writing Ability of The Second Year Diploma Student นายสุชาติ กองกูล วิทยาลัยเทคโนโลยี โปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา นักเรียนที่เข้ามาเรียนในวิชานี้ส่วนใหญ่จะมีความแตกต่างกัน ผลการเรียนของนักเรียนมีความแตกต่างกันมาก นักเรียนไม่รู้จักการทำงานเป็นหมู่คณะ เกิดทักษะเพียงด้านเดียว คือสามารถปฏิบัติงานตามครูกำหนดให้เท่านั้น ในการทำงานกลุ่ม นักเรียนมักประสบปัญหา คือคนที่มีผลการเรียนดีมักจับคู่กันเสมอ ส่วนคนที่มีผลการเรียนต่ำมักจะหากลุ่มได้ยาก และเกิดความไม่ยอมรับซึ่งกันและกัน

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา การเรียนแบบร่วมมือ (Cooperative Learning) เป็นวิธีการหนึ่งของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยเป็นวิธีการเรียนที่มีการจัดกลุ่มการทำงานเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และเพิ่มแรงจูงใจทางการเรียน การแข่งขันเป็นทีม ( Team –Game-Tournaments: TGT) เป็นวิธีการเรียนการสอนรูปแบบหนึ่งที่มีลักษณะเป็นการเรียนการสอนแบบร่วมมือ ซึ่งจะทำให้ผู้เรียนรู้สึกสนับสนุนซึ่งกันและกันช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยมีลักษณะเป็นทีมจุดเน้นที่สำคัญของทีมคือทำให้ดีที่สุดให้กำลังใจเพื่อร่วมทีมให้ประสบความสำเร็จทางวิชาการ

วัตถุประสงค์ - เพื่อเปรียบเทียบความสามารถด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษของนักเรียนก่อนและหลังเรียนโดยการใช้กิจกรรมกลุ่มเกมแข่งขัน - เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนก่อนและหลังเรียนโดยการใช้กิจกรรมกลุ่มเกมแข่งขัน

แนวคิด ทฤษฏี การแข่งขันเป็นทีม TGT 1. การสอน เป็นการนำเสนอความคิดรวบยอด อาจเป็นการสอนตรงหรือจัดในรูปแบบของการอภิปราย หรือกลุ่มศึกษา 2. การจัดทีม เป็นขั้นตอนการจัดกลุ่ม หรือจัดทีมของนักเรียน โดยจัดให้คละกันทั้งเพศ และความสามารถและทีมจะต้องช่วยกันและกัน 3. การแข่งขัน การแข่งขันมักจัดในช่วงท้ายสัปดาห์หรือท้ายบทเรียน 4. การยอมรับความสำเร็จของทีม ให้นำคะแนนโบนัสของแต่ละคนในทีมมารวมกันเป็นคะแนนของทีม

กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ปีการศึกษา 2555 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ เชียงใหม่ สาขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (ทค. 5103) จำนวน 32 คน ตัวแปรต้น ได้แก่ วิธีการสอนโดยกิจกรรมกลุ่มเกมแข่งขัน ตัวแปรตาม ได้แก่ ความสามารถด้านไวยากรณ์และ ความสามารถด้านการเขียนภาษาอังกฤษ

ขั้นตอนการทดลองและการเก็บรวบรวมข้อมูล วัดความสามารถด้านไวยากรณ์และความสามารถด้านการเขียนภาษาอังกฤษก่อนการทดลอง 2. ดำเนินการทดลองตามแผนการสอน 3.วัดความสามารถด้านไวยากรณ์และความสามารถด้านการเขียนภาษาอังกฤษหลังการทดลอง

สรุปผลการวิจัย ความรู้ด้านไวยากรณ์ จำนวนนักศึกษา คะแนนเต็ม ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยง เบนมาตรฐาน ก่อนทำการเรียนการสอน 32 50 24.68 6.40 หลังการทำการเรียนการสอน 30.03 4.82

สรุปผลการวิจัย ความสามารถด้านการเขียน จำนวนนักศึกษา คะแนนเต็ม ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยง เบนมาตรฐาน ก่อนทำการเรียนการสอน 32 20 12.78 1.80 หลังการทำการเรียนการสอน 16 1.31

อภิปรายผลการศึกษา กิจกรรมกลุ่มแข่งขัน ช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ด้านไวยากรณ์และความสามารถด้านการเขียนภาษาอังกฤษสูงขึ้น การช่วยเหลือกันในกลุ่ม ปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเพื่อนและมีแรงจูงใจจากการแข่งขัน บรรยากาศในการเรียนรู้เป็นไปอย่างสนุกสนาน ไม่เครียด สมาชิกในกลุ่มจะมีการช่วยเหลือเพื่อนร่วมทีม ร่วมกัน แก้ปัญหาตัดสินใจ นักเรียนที่เก่งจะช่วยเหลือเพื่อนร่วมกลุ่มที่อ่อนกว่า