การตระหนักในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การสนับสนุนขององค์กร และศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน ของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ชื่อผู้วิจัย : นางสาว ลัดดา นิลละออง สังกัด : วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา
ปัญหาการวิจัย 1. การรวมตัวของประชาคมอาเซียน ก่อให้เกิดเสรีทางการค้า การเคลื่อนย้ายแรงงาน ฯลฯ บริหารธุรกิจ อาชีวศึกษาเอกชน ช่างอุตสาหกรรม
ปัญหาการวิจัย 2. ภาษาที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร มีความสำคัญในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ปัญหาการวิจัย 3. เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทในโลกปัจจุบัน ปัญหาการวิจัย 3. เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทในโลกปัจจุบัน เทคโนโลยี ครอบคลุมทั่วโลก บทบาทเทคโนโลยีสารสนเทศ
ปัญหาการวิจัย 4. การพัฒนาบุคลากรเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ ASEAN การอบรมพัฒนา การทำการวิจัย
วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาการตระหนักในการเข้าสู่ ASEAN การสนับสนุนขององค์กร ศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน เพื่อศึกษาการตระหนักในการเข้าสู่ ASEAN ประกอบด้วย ทักษะด้านภาษา บทบาทเทคโนโลยี และ การเชื่อมโยงวัฒนธรรม การพัฒนาบุคลากร คุณภาพสื่อการเรียนการสอน และ การจัดสภาพแวดล้อม
กรอบแนวคิด การตระหนักในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การสนับสนุนขององค์กร -ทักษะด้านภาษา - บทบาทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร - การเชื่อมโยงวัฒนธรรม การสนับสนุนขององค์กร - การพัฒนาบุคลากร - สื่อการเรียนการสอน - การจัดสภาพแวดล้อม ศักยภาพในการจัดการเรียนการสอนของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
การดำเนินการวิจัย 1. ประชากรที่ใช้ในการทำวิจัย - ครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน จ. พระนครศรีอยุธยา - ประกอบด้วย 5 วิทยาลัย 2. เครื่องมือในการเกิบรวบรวมข้อมูล - ใช้แบบสอบถามปลายปิด (Multiple Choice question) แบบคำตอบหลายตัวเลือก - ใช้แบบสอบถามแสดงความคิดเห็นมีลักษณะเป็นมาตราส่วน (Rating Scale) 5 ช่วง คือ มาก ปานกลาง น้อยและ น้อยที่สุด - แบบสอบถามปลายเปิด เพื่อให้ผู้ตอบแบบสอบถามเขียนข้อคิดเห็น หรือข้อเสนอแนะอื่นๆ 3. การวิเคราะห์ข้อมูล - วิเคราะห์ข้อมูลตามประชากรศาสตร์ - วิเคราะห์ระดับความคิดเห็น - วิเคราะห์ข้อมูลตามสมมติฐาน
สรุปผลการวิจัย 1. ทักษะด้านภาษา 2. บทบาทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1. ทักษะด้านภาษา ผลวิจัยพบว่า ครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยาตระหนักในการใช้ภาษาอังกฤษในการติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน และมีการเตรียมความพร้อมในการใช้ภาษาอังกฤษในชั้นเรียนมากยิ่งขึ้น เพื่อก้าวสู่ ASEAN 2. บทบาทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ผลการวิจัยพบว่า ครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ค้นคว้า ข้อมูลข่าวสารจากเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นสำคัญ และนำข้อมูลที่ได้มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ให้มีประสิทธิภาพรองรับประชาคมอาเซียน 3. การเชื่อมโยงทางวัฒนธรรม ผลการวิจัยพบว่า ครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีการนำความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมต่างๆ ของประชาคมอาเซียน เข้ามาสอดแทรกในการจัดการเรียนการสอน เพื่อรองรับการเปิดเสรีทางการศึกษา และเพื่อสร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของประชาคมอาเซียน
สรุปผลการวิจัย 4. การพัฒนาบุคลากร 5. คุณภาพสื่อการเรียนการสอน ผลการวิจัยพบว่า โอกาสในการศึกษาดูงาน หรือการสนับสนุนในการศึกษาต่อ ยังคงมีน้อย และอยู่ในกลุ่มของผู้บริหารเป็นส่วนใหญ่ 5. คุณภาพสื่อการเรียนการสอน ผลการวิจัยพบว่า สื่อการเรียนการสอนที่มีคุณภาพและทันสมัยมีความสำคัญในการเพิ่มศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน ทำให้นักเรียนสามารถเข้าใจเนื้อหา ทักษะ และนำไปสู่จุดหมายของหลักสูตรได้เป็นอย่างดี 6. การจัดสภาพแวดล้อม ผลการวิจัยพบว่า การจัดสภาพแวดล้อม ทั้งภายในและภายนอก วิทยาลัย เป็นการส่งเสริมให้วิทยาลัยมีความโดดเด่น และเพิ่มบรรยากาศให้เอื้อต่อการเรียนการสอน