ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
Advertisements

ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
ศึกษาวิจัยการดำเนินงานโครงการลดจำนวนการออกกลางคันของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2556 นายไพศาล บุญประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ผู้วิจัย อภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน
ผู้วิจัย น.ส สุนิสา แก้วมา วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ผลการพัฒนาวิธีการสอนโดยใช้แผนผัง ความคิด วิชา ครอบครัวศึกษาและความปลอดภัย ในชีวิต ( ) เรื่อง ความปลอดภัยในการใช้ยา ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตร.
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้

ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวพรธนา ช่วยตั้ง
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
นางสาวกานณภา ทองเกิด สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
งานวิจัยเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.ปีที่ 1 สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดยใช้วิธีการเรียนแบบร่วมมือกลุ่มกัลยาณมิตร.
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
ผู้วิจัย อาจารย์พรรณี เสือรักษ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ผู้วิจัย อาจารย์เกษร วุฒิสินธ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
นางสาววีรนุช เรือนสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
การแก้ปัญหาการขาดเรียน ในรายวิชาโครงการ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลอง วิชาการขาย 2 เรื่องกระบวนการขายของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้เรียนชั้นปวช.1
นางสาวมัทนา เครือแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย อาจารย์ธนพร ผ่อนวัฒนา
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
ชื่อผลงานวิจัย : การพัฒนารูปแบบการเรียน การสอนผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัย.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
อาจารย์นริสรา คลองขุด
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
ครูโรงเรียนเมืองชลพณิชยการ จ. ชลบุรี
ชื่อผู้วิจัย ประชิด เกิดมาก
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ชื่อเรื่องวิจัย. การส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาระดับชั้นปวช
ผู้วิจัย จุฬารัตน์ มหาชัย
ผู้วิจัย อาจารย์ภารดี เนติเจียม
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
ชื่อผู้วิจัย :: นางสาวสุทธิดา โชติญาณพงษ์
เรื่องระบบจำนวน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล การแก้ไขพฤติกรรมของนักศึกษาไม่ส่งงานของนักศึกษาชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ)ที่ได้รับการสอนโดยใช้แบบฝึกหัดเสริม สอนซ่อมเสริมและตารางส่งงาน ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล

ปัญหา นักศึกษา นักศึกษาไม่ส่งงาน นักศึกษาไม่เข้าในบทเรียน นักศึกษาไม่เห็นความสำคัญของ บทเรียน นักศึกษา นักศึกษาไม่ส่งงาน

วัตถุประสงค์ - เพื่อพัฒนาสื่อการเรียนการสอน เรื่อง การแก้ไขพฤติกรรมนักศึกษาไม่ส่งงานที่ได้รับ การสอนโดยใช้แบบฝึกหัดเสริม สอนซ่อมเสริมและตารางส่งงาน - เพื่อนักศึกษาชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2/2 (สาขาวิชาคอมพิวเตอร์) ที่ไม่ส่งงานลดน้อยลง

วัตถุประสงค์ - เพื่อนักศึกษาชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2/2 (สาขาวิชาคอมพิวเตอร์) ที่ไม่ส่งงาน แสดงความคิดเห็นหลังการเรียนรู้เรื่อง การแก้ไขพฤติกรรมนักศึกษาไม่ส่งงานที่ได้รับการสอนโดยใช้แบบฝึกหัดเสริม สอนซ่อมเสริมและตารางส่งงาน

แบบฝึกหัดเสริม สอนซ่อมเสริมและตารางส่งงาน กรอบแนวคิด ตัวแปรต้น แบบฝึกหัดเสริม สอนซ่อมเสริมและตารางส่งงาน ตัวแปรตาม - ประสิทธิภาพของแบบฝึกหัดเสริม สอนซ่อมเสริมและตารางส่งงาน - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทำแบบฝึกหัดเสริม สอนซ่อมเสริมและตารางส่งงาน

ขอบเขตการวิจัย ประชากร นักเรียนปวส. 2 กลุ่มตัวอย่าง นักเรียน ปวส. 2 จำนวน 220คน

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง - สื่อการเรียนการสอน - เอกสารประกอบการสอน งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

วิธีการดำเนินการวิจัย สร้างเครื่องมือและตรวจสอบเครื่องมือ นำไปทดลองใช้กับกลุ่มนักเรียนที่กลุ่มตัวอย่าง นำมาใช้กับนักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง วิเคราะห์ข้อมูล

ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล 1. นวัตกรรมที่นำมาใช้สามารถลดจำนวนนักเรียนที่มีปัญหา ไม่ส่งงาน ลงจากนักเรียน 20 คน เหลือ 3 คน ซึ่งเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดมีประสิทธิภาพ 81.61/83.17

ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล 2. นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยเอกสารประกอบการสอน วิชา การพัฒนางานด้วยระบบคุณภาพและเพิ่มผลผลิต รหัสวิชา 3000-0101 เรื่อง ระบบ การบริหารงานคุณภาพในองค์กร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

สรุปผลการวิจัย วิธีการสอนซ่อมเสริมโดยใช้เอกสารประกอบการสอน วิชา การพัฒนางานด้วยระบบคุณภาพและเพิ่มผลผลิต รหัสวิชา 3000-0101 เรื่อง ระบบการบริหารงานคุณภาพในองค์กร มีประสิทธิภาพสามารถนำไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนการสอน เรื่อง ระบบการบริหารงานคุณภาพในองค์กร ในระดับชั้น ปวส. 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี จากการวิจัย พบว่านวัตกรรมที่นำมาใช้สามารถลดจำนวนนักเรียนที่มีปัญหาไม่ส่งงาน ลงจากนักเรียน 20 คน เหลือ 3 คน ซึ่งเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด

ประโยชน์ที่ได้จากการศึกษา 1. ทำให้ผู้สอนทราบถึงการแก้ปัญหาพฤติกรรมนักศึกษาไม่ส่งงาน วิชา การพัฒนางานด้วยระบบคุณภาพและเพิ่มผลผลิต เรื่อง ระบบการบริหารงานคุณภาพในองค์กร 2. เป็นแนวทางให้ครูผู้สอนในรายวิชาอื่นๆ ได้ศึกษาและนำไปแก้ปัญหาพฤติกรรมนักศึกษาไม่ส่งงาน

ขอบคุณค่ะ