เป้าประสงค์ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการสนับสนุน รพสต.
Advertisements

โรงเรียนดีประจำตำบล.
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
แผนที่ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น(SRM)
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ทิพาพร เสถียรศักดิ์พงศ์
การกำหนดและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ด้านอาหารและ โภชนาการ
สวัสดีครับ.
กลุ่มงานส่งเสริม การพัฒนาทุน
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ตัวชี้วัดสำคัญ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา วันที่ 26 พฤศจิกายน
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
“โครงการสร้างสุขระดับจังหวัด….” จากแผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต(สสส.)
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายและทิศทาง การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ เด็กวัยเรียนและเยาวชน
ไอโอดีนมีอยู่ทุกที่ ดูให้ดี กินให้เป็น
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
โครงการ หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
เด็กผอม – เด็กอ้วน ล้วนเป็นปัญหาของชาติ
โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอ่อนหวาน
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
จุดประกายการพัฒนาศักยภาพโรงเรียนเด็กไทยแก้มสและบนบาทของทีมวิทยากรระดับเขต วันที่ 5 มกราคม 2557 โรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ท โดย สง่า ดามาพงษ์
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
แผนงาน พัฒนาศักยภาพเครือข่าย เพื่อการขับเคลื่อนงาน อาหารและโภชนาการเชิง รุก โดย นายสง่า ดามาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุข ระดับ 9 กรมอนามัย.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เป้าประสงค์ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ เด็กทารก เด็กวัยก่อนเรียน และเด็กวัยเรียน อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีพฤติกรรมโภชนาการที่พึงประสงค์

ยุทธศาสตร์การพัฒนาและแนวทางการพัฒนา 1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านโครงสร้างการบริหารการจัดการ เพื่อเด็กไทยมีโภชนาการสมวัย 1.1 สนับสนุนให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการอาหารและโภชนาการในระดับชุมชน 1.2 จัดทำฐานข้อมูลด้านอาหารและโภชนาการ 1.3 จัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการด้านอาหารและโภชนาการ

ยุทธศาสตร์การพัฒนาและแนวทางการพัฒนา 2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากรและภาคีเครือข่าย 2.1 ส่งเสริมภาคีเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วม 2.2 พัฒนาศักยภาพบุคลากรในด้านอาหารและโภชนาการ 2.3 ส่งเสริมให้เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยง โรงเรียน และชุมชนพึงประสงค์ด้านโภชนาการ 2.4 สนับสนุนการพัฒนาทักษะด้านการส่งเสริมพฤติกรรมโภชนาการที่พึงประสงค์

ยุทธศาสตร์การพัฒนาและแนวทางการพัฒนา 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาพฤติกรรมโภชนาการ 3.1 จัดปัจจัยแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนาพฤติกรรมโภชนาการที่พึงประสงค์ 3.2 จัดทำแผนการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการบริโภคอาหาร

ยุทธศาสตร์การพัฒนาและแนวทางการพัฒนา 4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการสื่อสาร 4.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการสื่อสารสังคม 4.2 สนับสนุนกระบวนการสร้างกระแสสังคมเพื่อการขับเคลื่อนนโยบายผ่านสื่อท้องถิ่น หอกระจายข่าว เสียงตามสาย วิทยุชุมชน 4.3 พัฒนาศักยภาพด้านการสื่อสารเพื่อการเรียนรู้ด้านอาหารและโภชนาการ

ยุทธศาสตร์การพัฒนาและแนวทางการพัฒนา 5. ยุทธศาสตร์การพัฒนานโยบายสาธารณะ 5.1 พัฒนาโภชนาการเข้าสู่นโยบาย ภารกิจ และแผนงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยง โรงเรียน และชุมชน 5.2 บริหารจัดการให้เกิดต้นแบบที่ดีด้านโภชนบูรณาการกับภาคีเครือข่าย

ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ รายละเอียดโครงการพัฒนา แผนพัฒนา 3 ปี (พ.ศ.2554-2556) 1. ยุทธศาสตร์ที่ .................................................................................................... 1.1 แนวทางการพัฒนา ............................................................................... ที่ โครงการ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย (ผลผลิตของโครงการ) งบประมาณและที่มา ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ หน่วยงานที่ รับผิดชอบ 2554 (บาท) 2555 2556

ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ แผนพัฒนา/ปฏิบัติการ ประจำปี พ.ศ. 2553 - 2554 ที่ โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค์ เป้าหมาย (ผลผลิตของโครงการ) งบประมาณ และ ที่มา ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ หน่วยงานที่ รับผิดชอบ

ตัวอย่างโครงการฯ ปี 2553 – 2554 โครงการพัฒนาชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก และโรงเรียน สู่องค์กรที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ โครงการส่งเสริมการปลูกผัก ผลไม้ หลากสี ปลอดสารพิษ โครงการชุมชน / โรงเรียน / ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ปลอดน้ำอัดลม / ขนมกรุบกรอบ โครงการส่งเสริมร้านค้าจำหน่ายอาหารได้มาตรฐานโภชนาการ (เมนูชูสุขภาพ / เกลือ น้ำปลาเสริมไอโอดีน ขนมกรุบกรอบมีตราสัญลักษณ์ลดน้ำตาล ไขมัน โซเดียม 25% ฯลฯ) 5. โครงการตำบลอ่อนหวาน 6. โครงการ Cook จิ๋ว ฯลฯ