นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานวิจัย เรื่อง ผลการใช้แบบฝึกการเขียนคำที่มี รูปวรรณยุกต์กำกับ
Advertisements

ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาโปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่อง งานนำเสนอข้อมูลด้านมัลติมีเดียนักเรียนปวช.2.
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย : นายอธิชาติ ไชยาแจ่ม
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย อภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
นาย ภัทราวุธ พิชาชญชัย วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิ เทคนิคลานนา เชียงใหม่
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ วิชาไมโครคอนโทรเลอร์ โดยใช้สื่อการเรียนการสอนเรื่อง ไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุม 7 Segment สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.

นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
การพัฒนาเกมซ่อนคำศัพท์ภาษาอังกฤษมหาสนุก
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาเครื่องกลไฟฟ้า 1 ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้น ปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนการ สอน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
ผู้วิจัย นางระเบียบ คุณากร วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
***นำเสนอผลงานวิจัย***
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ผู้วิจัย นางสาวนิตญา จุทาชื่น วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชามนุษยสัมพันธ์โดยใช้เทคนิคการทำงานเป็นทีม ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย นางบุษกร.
ชื่อเรื่องงานวิจัย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การส่งเสริมการรู้คำศัพท์เพื่อเขียน โปรแกรม Microsoft Visual Basic ชื่อเรื่อง + ชื่อผู้วิจัย + สังกัดวิทยาลัย.
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการ สอนรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช. ) ชั้นปีที่ 1 กลุ่ม A11 และ A12.
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ในการเรียนรู้ความหมายของคำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยการใช้ เกม Bingo Vocab ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ประเภทพาณิชยกรรม.
นายวีรพล ยิ้มย่อง สังกัด วิทาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
1. เพื่อเสริมสร้างเจตคติในการส่งงานของ นักศึกษาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ห้อง คธ ส่งเสริมนักศึกษาให้เป็นผู้ตรงต่อเวลาใน การทำงาน 3. เพื่อศึกษาสาเหตุของการไม่ส่งงาน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง ระบบแรง วิชากลศาสตร์โครงสร้าง 1 สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาการก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู ภาคเหนือ นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน

ปัญหาการวิจัย เนื่องจากในการจัดการเรียนการสอนตามปกติมักจะสอนโดยใช้วิธีการอธิบายให้นักศึกษาทุกคนได้เรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ แต่การที่จะอธิบายนักศึกษาพร้อมๆกันให้ทุกคนเกิดการเรียนรู้และสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้โดยใช้เวลาเท่ากัน เป็นสิ่งที่ทำได้ยาก เพราะนักศึกษามีความสามารถในการเรียนรู้ได้ไม่เท่ากันและไม่เหมือนกัน การสอนโดยใช้วิธีอธิบายนักศึกษาทั้งห้องในเวลาเท่ากัน เป็นการสอนนักศึกษาเพียงจำนวนหนึ่งเท่านั้น

ปัญหาการวิจัย (ต่อ) ดังนั้นผู้วิจัยจึงให้ความสนใจที่จะใช้แบบเรียนเสริมเอาไว้ และการสอนเสริมยังเป็นการสอนที่ช่วยแก้ไขข้อบกพร่องที่พบในตัวนักศึกษา ซึ่งเชื่อว่าผู้เรียนสามารถเรียนให้บรรลุตามจุดประสงค์ได้ ทั้งยังเป็นการที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเอาใจใส่ต่อการเรียน ช่วยเสริมสร้างความรู้พื้นฐานที่จำเป็นให้แก่ผู้เรียน อันจะเป็นแนวทางที่จะทำให้ผู้เรียนมีพัฒนาการทางการเรียนที่ดียิ่งขึ้นต่อๆไป

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องระบบแรง วิชากลศาสตร์โครงสร้าง 1 ที่ได้รับการเรียนเสริม 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนที่ใช้บทเรียนเสริม เรื่องระบบแรง วิชากลศาสตร์โครงสร้าง 1

หลักการออกแบบเครื่องมือ ผังสรุปสำคัญ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง ระบบแรง วิชากลศาสตร์โครงสร้าง 1 สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาการก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู ภาคเหนือ หลักการออกแบบเครื่องมือ เครื่องมือที่ใช้ ขอบเขต 1.บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 2.แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3.แบบวัดทัศนคติของนักศึกษา 1.ขอบเขตด้านประชากร 2.ขอบเขตด้านเนื้อหา 1.การออกแบบบทเรียน 2.การสร้างบทเรียน 3.การประเมินบทเรียน

โครงสร้างแผนผังการสอนของการใช้บทเรียนเสริม เรื่อง ระบบแรง วิชากลศาสตร์โครงสร้าง 1 เริ่มต้นโปรแกรม ชื่อบทเรียน จบการทำงาน แบบทดสอบก่อนเรียน ปิดโปรแกรม บทเรียน หรือเนื้อหา แบบทดสอบหลังเรียน

สรุปผลการวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในการใช้บทเรียนเสริมเรื่อง ระบบแรง วิชากลศาสตร์โครงสร้าง 1 เมื่อนำมาวิเคราะห์หาค่าดัชนีประสิทธิผลจากการเรียน พบว่า ผลที่ได้เท่ากับ 0.78444 แสดงให้เห็นว่าการใช้บทเรียนเสริม สามารถพัฒนาการเรียนรู้และเสริมสร้างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้นร้อยละ 72.54 และความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการใช้บทเรียนเสริม พบว่า โดยภาพรวมนักเรียนเห็นด้วยในระดับมาก โดยมีหัวข้อมีประเด็นในเรื่อง การช่วยเพิ่มความสนใจในการเรียนมากขึ้น มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาจะเป็นที่ทำให้นักเรียนสนุกกับการเรียน ไม่รู้สึกเบื่อหน่าย และนักเรียนชอบการใช้บทเรียนเสริม เรื่อง ระบบแรง วิชากลศาสตร์โครงสร้าง 1 ชุดนี้

ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษาวิจัย 1.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนดีขึ้น 2.ผู้เรียนมีความเข้าใจในบทเรียนเพิ่มมากขึ้น 3.ผู้เรียนมีความพึงพอใจในการใช้บทเรียนเสริม 4.เป็นการให้ความรู้ใหม่และยังช่วยเสริมทักษะให้ดียิ่งขึ้น โดยอาศัยวิธีการและการใช้เทคโนโลยีทางการศึกษา

ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยครั้งต่อไป ควรมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายวิชาอื่นในระดับชั้นการศึกษาอื่น ๆ ควรมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชากลศาสตร์โครงสร้าง 1 ในหัวข้ออื่นๆ เพื่อให้ครอบคลุมเนื้อหาในส่วนอื่นๆ