โดย นางสกุลยา กุลธนบูรณกิจ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานวิจัย ผลการใช้แบบฝึกการเขียนคำที่มักเขียนผิด
Advertisements

งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ชื่อเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความ คงทนในการเรียนรู้เรื่องความรู้เกี่ยวกับแผนธุรกิจ ( Business Plan ) วิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อมรหัส.
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
โดย ผู้วิจัย นางพรศิริ อูปคำ สังกัด โรงเรียนลำปางพาณิชยการและเทคโนโลยี
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 3 เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2 แผนกช่างอุตสาหกรรม.
นางพรพรรณ สนทอง โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวพรธนา ช่วยตั้ง
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมการกำลังสอง
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ผู้วิจัย อาจารย์เกษร วุฒิสินธ์
ชื่อผลงานวิจัย ศึกษาการพัฒนาทักษะด้านการพิมพ์สัมผัสด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
โรงเรียนระยองพาณิชยการ ผู้วิจัย นางประนอม ยางสง่า
นางสาวพิชญาภา อิ่มประไพ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ (MBAC)
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
การตระหนักในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การสนับสนุนขององค์กร และศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน ของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
โดย นางวัลภา เก่งอักษร
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
ชื่อเรื่อง การใช้แนวการสอนพหุประสาทสัมผัสเพื่อส่งเสริมความสามารถทางการจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 ผู้วิจัย นางสาวปวีณา.
การทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียน ในวิชาบัญชีเบื้องต้น 2
การพัฒนาพฤติกรรมการกล้าเสดงออก โดยใช้วิธีการแสดงบทบาทสมมติ ในรายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 แผนกการตลาด.
ผู้วิจัย อาจารย์ภารดี เนติเจียม
ชื่อผู้วิจัย :: นางสาวสุทธิดา โชติญาณพงษ์

วิชา เครื่องวัดไฟฟ้า รหัส
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้การสืบเสาะหา ความรู้แบบนำทาง
อาจารย์ชรินทร ชะเอมเทส
โดย นางสาวสารภี ศุระศรางค์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย นางสกุลยา กุลธนบูรณกิจ การพัฒนาศักยภาพการเรียนภาษาอังกฤษของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 3 คณะบริหารธุรกิจ ห้อง ชค.301 ด้วยแผ่นพับผังความคิดรายวิชา การเขียนจดหมายโต้ตอบ (Commercial Correspondence) รหัสวิชา 2000-1241 โดย นางสกุลยา กุลธนบูรณกิจ

ความสำคัญและความเป็นมาของปัญหา สังคมโลกปัจจุบันที่มีการสื่อสารไร้พรมแดน และไร้ขีดจำกัด ทำให้คนทุกมุมโลกมีโอกาสในการติดต่อสื่อสาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเข้าร่วมประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งมีกฎบัตรอาเซียนข้อ 34 บัญญัติว่า “The working language of ASEAN shall be English” “ภาษาที่ใช้ในการทำงานของอาเซียน คือ ภาษาอังกฤษ” ผู้วิจัยจึงได้นำนวัตกรรมบทเรียนแผ่นเดียว: สื่อการสอนภาษาอังกฤษแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ มาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ภายใต้ชื่อว่า “แผ่นพับผังความคิด”

วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิชาภาษาอังกฤษ เพื่อส่งเสริมและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของนักเรียน

ระเบียบวิธีการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 3 (ปวช.3)คณะบริหารธุรกิจ ห้อง ชค.301 ปีการศึกษา 2554 จำนวน 39 คน ตัวแปรต้น การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยแผ่นพับผังความคิด ตัวแปรตาม ความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 3 คณะบริหารธุรกิจ ห้อง ชค.301 ภาคเรียนที่ 1 จำนวน 39 คน

เครื่องมือ เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมครั้งนี้แบ่งเป็น 3 ประเภทคือ เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมครั้งนี้แบ่งเป็น 3 ประเภทคือ ผลงานแผ่นพับผังความคิดของนักศึกษาแต่ละกลุ่ม โดยแบ่งนักศึกษาร่วมกันทำงานเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 10 คน เพื่อเรียนรู้เนื้อหาของบทเรียน สรุปเนื้อหาของบทเรียน การตั้งคำถามและคำตอบ ตลอดจนถึงกระบวนการทำหนังสือเล่มเล็กหรือแผ่นพับผังความคิด แบบสอบถามเกี่ยวกับความพึงพอใจการจัดกิจกรรมแบบแผ่นพับผังความคิด รายวิชา การเขียนจดหมายโต้ตอบ (Commercial Correspondence) รหัสวิชา 2000-1241 ของนักศึกษาห้อง ชค.301 ผลคะแนนจากแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน

การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. ผู้วิจัยเก็บรวบรวมผลงานการทำแผ่นพับความคิดของนักศึกษา การเขียนสรุปเนื้อหา การตั้งคำถามและคำตอบ ตลอดจนบันทึกการทำงานของนักศึกษา และทำการประเมินผล 2. ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลของนักศึกษาโดยขอความร่วมมือจากนักศึกษาห้อง ชค.301 ที่ทำแผ่นพับผังความคิด ในการทำแบบสอบถามความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วย “แผ่นพับผังความคิด” 3. ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลจากผลคะแนนแบบทดสอบก่อน และหลังเรียน

สรุปผลการวิจัย 1. นักศึกษามีพัฒนาการการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้เป็นอย่างดีจากชิ้นงาน “แผ่นพับผังความคิดของนักศึกษา” 2. นักศึกษามีความสุขในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยนวัตกรรม “แผ่นพับผังความคิด” และมีเจตคติที่ดีต่อรายวิชาภาษาอังกฤษ

สรุปผลความพึงพอใจใน การจัดกิจกรรมแผ่นพับ ผังความคิด หัวข้อการประเมินผลความพึงพอใจจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยแผ่นพับผังความคิด S.D. ค่าเฉลี่ย เกณฑ์ 1.ได้รับความรู้ด้านคำศัพท์ภาษาอังกฤษ 0.71 3.74 มาก 2.เกิดทักษะการสรุปการเรียนรู้ ตั้งคำถาม 0.75 4.05 3.เกิดทักษะและพัฒนาการเขียนภาษาอังกฤษ 0.81 4.ได้เรียนรู้ในบทเรียนด้วยตนเอง 0.93 3.85 5.เกิดกระบวนการเรียนรู้การทำงาน 0.62 4.08 6.เกิดความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ 0.79 4.46 7.มีความสุขในการทำกิจกรรม 0.72 4.49 8.เกิดทักษะในการทำงานร่วมกับผู้อื่น และสามารถแก้ไขปัญหาได้ 4.1 9.สามารถนำทักษะและการเรียนรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 0.78 3.62 10.มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาภาษาอังกฤษ 0.98 3.92

ข้อเสนอแนะและประโยชน์ของการศึกษา ผลการวิจัยถือว่าการใช้นวัตกรรม “แผ่นพับผังความคิด” โดยได้รับแนวคิดนวัตกรรมจากผศ.ดร.อเนก ศิลปะนิลมาลย์ ด้วยบทเรียนแผ่นเดียว: สื่อการสอนภาษาอังกฤษแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ จากผลการวิจัยพบว่าการจัดกระบวนการเรียนรู้นี้ก่อให้เกิดประโยชน์ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ของภาควิชาภาษาอังกฤษ และขยายผลในภาควิชาต่างๆ ต่อไปโดยจะทดลองใช้ในโรงเรียนลำปางพาณิชยการและเทคโนโลยี