Service Profile บริการ/ทีม: ……………………………. โรงพยาบาลนครปฐม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
Advertisements

สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
Risk Management JVKK.
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
แบบฟอร์มการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ขององค์กร
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
ทบทวนให้ถึงแก่น น.พ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
“แนวปฏิบัติจัดการความรู้” (The Practices of Knowledge Management)
การบริหารผลสัมฤทธิ์ (Result Based Management-RBM)
ในโรงพยาบาลค่ายสุรนารี
นายชยันต์ หิรัญพันธุ์
การเตรียมการนำเสนอผลงานของ PCT และระบบสำคัญ
“Knowledge Management in Health Care”
II – 2.1 การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการพยาบาล (Nursing)
Risk management รศ.นพ.จรัล กังสนารักษ์.
การบริหารความเสี่ยง ความปลอดภัย โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การทำงานเชิงรุก การทำงานเชิงรุก
HA คืออะไร วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
Service Profile บริการ/ทีม: โรงพยาบาล วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด
ประจำปีงบประมาณ การกำหนดจุดเน้นใน การพัฒนาของ หน่วยงาน  เลือกจุดเน้นจากแผนเข็มมุ่งปี 49 ของสถาบันฯ ที่หน่วยงานของท่าน มีส่วนในการทำให้บรรลุเป้าหมาย.
หมวด 1 การนำองค์กร การให้การสนับสนุนชุมชน ดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม
การสร้างวิสัยทัศน์(Vision) ประเด็นยุทธศาสตร์
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
HA 2011 overall scoring และการนำไปใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพรพ.
งานบริหารความเสี่ยง Risk management (RM)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
1 การจับความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ของทีมทำงานรวมทั้งทบทวนและสะท้อน บทเรียนนำไปสู่การวางแผนต่อไป การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบกับ ทีมงานในเรื่องผลการปฏิบัติ
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแล ผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 12.
โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ รพศ. ขนาด 562 เตียง.
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
มาตรฐาน งานเทคนิคการแพทย์2551
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
Service Profile บริการ/ทีม: โรงพยาบาล วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2557
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
การธำรงรักษาระบบคุณภาพหลังการรับรอง
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
คู่มือการพัฒนาคุณภาพ HA SPA SAR 2011 HA Scoring Guideline 2011
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
กรอบการพัฒนาตัวชี้วัด
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
การวางแผนยุทธศาสตร์.
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
Quality Improvement Track
1. การ ดำเนินงานตามกฎระเบียบ การประกันสังคม 2. ความสามารถ ในการดำเนินการ เรียกเก็บเงินได้ตามกำหนด 3. ความรวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วนใน การให้บริการ 4. การมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย.
แนวคิดบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
1 Quality Improvement Tract สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล ( องค์การมหาชน )
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
การทบทวนตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย แผนยุทธศาสตร์ ประจำปี 2555 สสจ
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
6. การทำงานเป็นทีมระหว่างสาขา วิชาชีพ 1. การคัดกรองจำแนกประเภทผู้ป่วย ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงที่อาจถูกคัดกรอง ผิดพลาด 2. การระบุตัวผู้ป่วยในกรณีต้อง เคลื่อนย้ายผู้ป่วย.
PCT ทีมนำทางคลินิก.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Service Profile บริการ/ทีม: ……………………………. โรงพยาบาลนครปฐม Template สำหรับการบันทึก Service Profile ชุดนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นทางเลือกสำหรับทีมงานต่างๆ จะนำไปใช้บันทึกข้อมูลที่ทางทีมงานจัดทำไว้ หรือกำลังจะเริ่มจัดทำใหม่ แนวคิดสำคัญที่เป็นพื้นฐานของการออกแบบ template นี้ได้แก่ 1) การสรุปข้อมูลสำคัญในลักษณะ One Page Summary 2) การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน และการเชื่อมโยงกับข้อมูลที่มีรายละเอียดเพิ่มขึ้น 3) ความสามารถในการเพิ่มเติมข้อมูลหรือปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัย ซึ่งทำได้ง่าย 4) Service ในที่นี้อาจจะเป็นโครงสร้างในระดับใดก็ได้ เช่น OPD, OPD อายุรกรรม, คลินิกเบาหวาน ขึ้นกับเอกลักษณ์ของการทำงานของโครงสร้างดังกล่าว ที่สำคัญคือควรใช้ Core Values เรื่อง Customer Focus และ Teamwork เป็นหลักสำคัญในการกำกับวิธีคิดและการตัดสินใจ 5) ทีมในที่นี้อาจจะเป็น Clinical Lead Team, Patient Care Team หรือทีมอื่นๆ ที่ต้องการวิเคราะห์งานของตนเองอย่างเป็นระบบ ข้อความใน Notes Page เหล่านี้สามารถลบออกได้และบันทึกข้อมูลในส่วนที่เป็นคำขยายความของทีมงานเองแทน วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด: 28/10/2009

ความมุ่งหมาย(Purpose Statement) มาตรฐานบทที่เกี่ยวข้อง ความต้องการของผู้รับผลงาน/การประสานทีม นโยบาย/ จุดเน้นขององค์กร ประเด็นสำคัญคุณภาพ ความมุ่งหมาย(Purpose Statement) Purpose จุดเน้น ในการพัฒนา กระบวนการหลัก/ การทำงานของทีม เป้าประสงค์(Goal) Process ความเสี่ยง/ โอกาสพัฒนา Performance เครื่องชี้วัด/ การประเมิน แผนปฏิบัติการ/ วัตถุประสงค์ กิจกรรม/ โครงการพัฒนา SERVICE PROFILEเครื่องมือในการวิเคราะห์หน่วยงาน,,ทีม

บริบท (Context) บริการ/ทีม: ……………….. ความมุ่งหมาย (Purpose):………………………………………… เป้าประสงค์ (Goal):……………………………………… บริบท (context) คือการทำความเข้าใจลักษณะเฉพาะของหน่วยงานเอง อาจจะเป็นลักษณะภายในหรือสิ่งแวดล้อมของการทำงานก็ได้ หัวข้อที่กำหนดให้ไว้เป็นแนวทางในการพิจารณา ทั้งนี้การพิจารณาว่าลักษณะหรือปัจจัยใดที่จะมีความสำคัญ ควรมุ่งเน้นพิจารณาว่าอะไรที่มีความสำคัญต่อการออกแบบวิธีการทำงาน การวางแผน การตัดสินใจ ทีมงานควรแปลความหมายของข้อมูลมาเป็นสารสนเทศที่ให้ความหมาย เช่น ในหัวข้อศักยภาพและข้อจำกัดในด้านผู้ปฏิบัติงาน แทนที่จะระบุเพียงจำนวนของผู้ปฏิบัติงานที่สำคัญ ควรจะมองตนเองให้ออกว่าเมื่อเทียบกับภาระความรับผิดชอบแล้ว ผู้ปฏิบัติงานที่มีอยู่มีความเพียงพอหรือไม่ มีอะไรที่เป็นศักยภาพหรือข้อเด่น และมีอะไรที่เป็นข้อจำกัด หัวข้อสุดท้ายที่เพิ่มเติมเข้ามาคือประเด็นการสร้างเสริมสุขภาพที่เกี่ยวข้อง มีเป้าหมายเพื่อกระตุ้นให้หน่วยงานพิจารณาถึงโอกาสในการนำแนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพมาปฏิบัติในลักษณะบูรณาการกับงานประจำ เช่น ปัญหาสุขภาพสำคัญ, intervention, แนวคิดการทำงาน

บริบท (Context) บริการ/ทีม: ……………….. โครงสร้างทีม (Team Structure): ทีมงานควรแปลความหมายของข้อมูลมาเป็นสารสนเทศที่ให้ความหมาย เช่น ในหัวข้อศักยภาพและข้อจำกัดในด้านผู้ปฏิบัติงาน แทนที่จะระบุเพียงจำนวนของผู้ปฏิบัติงานที่สำคัญ ควรจะมองตนเองให้ออกว่าเมื่อเทียบกับภาระความรับผิดชอบแล้ว ผู้ปฏิบัติงานที่มีอยู่มีความเพียงพอหรือไม่ มีอะไรที่เป็นศักยภาพหรือข้อเด่น และมีอะไรที่เป็นข้อจำกัด หัวข้อสุดท้ายที่เพิ่มเติมเข้ามาคือประเด็นการสร้างเสริมสุขภาพที่เกี่ยวข้อง มีเป้าหมายเพื่อกระตุ้นให้หน่วยงานพิจารณาถึงโอกาสในการนำแนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพมาปฏิบัติในลักษณะบูรณาการกับงานประจำ เช่น ปัญหาสุขภาพสำคัญ, intervention, แนวคิดการทำงาน

บริบท (Context) บริการ/ทีม: ………………… ความต้องการของผู้รับผลงานสำคัญ: ความต้องการในการประสานงานภายในที่สำคัญ: บริบท (context) คือการทำความเข้าใจลักษณะเฉพาะของหน่วยงานเอง อาจจะเป็นลักษณะภายในหรือสิ่งแวดล้อมของการทำงานก็ได้ หัวข้อที่กำหนดให้ไว้เป็นแนวทางในการพิจารณา ทั้งนี้การพิจารณาว่าลักษณะหรือปัจจัยใดที่จะมีความสำคัญ ควรมุ่งเน้นพิจารณาว่าอะไรที่มีความสำคัญต่อการออกแบบวิธีการทำงาน การวางแผน การตัดสินใจ ทีมงานควรแปลความหมายของข้อมูลมาเป็นสารสนเทศที่ให้ความหมาย เช่น ในหัวข้อศักยภาพและข้อจำกัดในด้านผู้ปฏิบัติงาน แทนที่จะระบุเพียงจำนวนของผู้ปฏิบัติงานที่สำคัญ ควรจะมองตนเองให้ออกว่าเมื่อเทียบกับภาระความรับผิดชอบแล้ว ผู้ปฏิบัติงานที่มีอยู่มีความเพียงพอหรือไม่ มีอะไรที่เป็นศักยภาพหรือข้อเด่น และมีอะไรที่เป็นข้อจำกัด หัวข้อสุดท้ายที่เพิ่มเติมเข้ามาคือประเด็นการสร้างเสริมสุขภาพที่เกี่ยวข้อง มีเป้าหมายเพื่อกระตุ้นให้หน่วยงานพิจารณาถึงโอกาสในการนำแนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพมาปฏิบัติในลักษณะบูรณาการกับงานประจำ เช่น ปัญหาสุขภาพสำคัญ, intervention, แนวคิดการทำงาน

สรุป: ทีม กับ การพัฒนาคุณภาพ เป้าหมาย+ทิศทางองค์กร Patient Safety + Staff Safety Medical record completeness ระบบ ระบบ ประสานทีม+ข้อมูล Team objective/Role ระบบ ระบบ หน่วยงาน หน่วยงาน หน่วยงาน หน่วยงาน

การทำงานของทีม (Team Process) ทีมนำ รพ. ทีม RM ทีม IC ประสานทีม+ข้อมูล PCT Team objective/Role ทีม ...... ทีม..... การทำงาน ตัวชี้วัด หน่วยงาน หน่วยงาน หน่วยงาน หน่วยงาน

Hospital Indicators Team 3 Indicators Team 1 Indicators Team 2 Unit Indicators Unit Indicators Unit Indicators Unit Indicators Program Indicators Program Indicators Project Indicators Project Indicators

วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด การพัฒนา บริการ/ทีม: …………………. ประเด็นคุณภาพที่สำคัญ /ความท้าทายที่สำคัญ เป้าหมาย/ วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดและผลลัพธ์ กิจกรรมพัฒนา ประเด็นสำคัญ Objectives ตัวชี้วัด target data ความเสี่ยง/โอกาสพัฒนา Action plan +Timeframe 1 2 3 4 วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด การพัฒนา เป็นหน้าสำคัญที่จะแสดงความเชื่อมโยงข้อมูลต่างๆ กับเป้าหมายหลักของบริการ/ทีม ข้อมูลที่บันทึกในหน้านี้จะเป็นเพียงหัวข้อสั้นๆ และสามารถ link ไปสู่รายละเอียดในเรื่องตัวชี้วัดและกิจกรรมพัฒนาที่เกี่ยวข้องได้ ตัวอย่างการตรวจสอบความเชื่อมโยง 1) เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของหน่วยงาน สอดคล้องกับประเด็นคุณภาพที่สำคัญและความท้าทายที่สำคัญของหน่วยงานหรือไม่ 2) ตัวชี้วัดสำคัญ สามารถระบุการบรรลุเป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของหน่วยงานได้หรือไม่ 3) กิจกรรมพัฒนาคุณภาพต่างๆ สอดคล้องและจะนำไปสู่การบรรลุเป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของหน่วยงานได้หรือไม่

บริบท (Context) บริการ/ทีม: ………………… จุดเน้นในการพัฒนา: 1. 2. 3. 4. 5. ทีมงานควรแปลความหมายของข้อมูลมาเป็นสารสนเทศที่ให้ความหมาย เช่น ในหัวข้อศักยภาพและข้อจำกัดในด้านผู้ปฏิบัติงาน แทนที่จะระบุเพียงจำนวนของผู้ปฏิบัติงานที่สำคัญ ควรจะมองตนเองให้ออกว่าเมื่อเทียบกับภาระความรับผิดชอบแล้ว ผู้ปฏิบัติงานที่มีอยู่มีความเพียงพอหรือไม่ มีอะไรที่เป็นศักยภาพหรือข้อเด่น และมีอะไรที่เป็นข้อจำกัด หัวข้อสุดท้ายที่เพิ่มเติมเข้ามาคือประเด็นการสร้างเสริมสุขภาพที่เกี่ยวข้อง มีเป้าหมายเพื่อกระตุ้นให้หน่วยงานพิจารณาถึงโอกาสในการนำแนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพมาปฏิบัติในลักษณะบูรณาการกับงานประจำ เช่น ปัญหาสุขภาพสำคัญ, intervention, แนวคิดการทำงาน

กิจกรรมทบทวนคุณภาพ (12 กิจกรรม) บริการ/ทีม:……………….. กิจกรรมทบทวนคุณภาพ (12 กิจกรรม) Team Specific Activities Combination Hospital-wide การทบทวนข้างเตียง (C3THER) การทบทวนคำร้องเรียน การทบทวนเมื่อส่งต่อ / ขอย้าย / ปฏิเสธการรักษา การทบทวนโดยผู้ชำนาญกว่า การทบทวนความเสี่ยง การทบทวนการติดเชื้อในโรงพยาบาล การทบทวนความคลาดเคลื่อนทางยา/ผลไม่พึงประสงค์จากยา การทบทวนเหตุการณ์สำคัญ / เหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ การทบทวนเวชระเบียน กิจกรรมทบทวนคุณภาพ หน้านี้เป็นเสมือนสารบัญที่จะ link ไปสู่รายละเอียดของกิจกรรมทบทวนต่างๆ ซึ่งใน template นี้ได้ทำ link ไว้ให้แล้วเพื่อความสะดวก บริการ/ทีมงานที่ไม่เกี่ยวข้องกับงานคลินิกบริการสามารถลบ slide ในส่วนนี้ออกได้ทั้งหมด การจัดแบ่งกิจกรรมทบทวนเป็น 3 กลุ่ม เพื่อช่วยให้ทีมเห็นชัดเจนว่างานใดเป็นสิ่งที่จะต้องทำด้วยตนเอง งานใดเป็นสิ่งที่จะต้องทบทวนร่วมกับระบบใหญ่ของโรงพยาบาล ซึ่งไม่จำเป็นว่าจะต้องเป็นไปตามที่จัดกลุ่มไว้เสมอไป การทบทวนการใช้ข้อมูลวิชาการ (Scientific Evidence Review) การทบทวนการใช้ทรัพยากร (UR) การทบทวนตัวชี้วัด (KPI Review)