แนวคิดและหลักการส่งเสริมการตรวจสุขภาพ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
SET Listing Requirements 2005
Advertisements

งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
๓ ไม่ ๒ มี Road map หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๕ ขั้นที่ ๔
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
งานกลุ่มจัดตั้งและ ส่งเสริมสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน มีนาคม 2552.
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน มกราคม 2552.
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
โครงการส่งเสริมการออมภาคครัวเรือนเกษตรกร ด้วยเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดกระบี่
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
งานกลุ่มจัดตั้งและ ส่งเสริมสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน มกราคม 2552.
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน กุมภาพันธ์ 2552.
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
เจ้าภาพหลัก สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน
ผลการดำเนินงาน โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน กข.คจ. จำนวน 43 กองทุน เงินทุนจำนวน 13,678,306 บาท กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต จำนวน 48 กลุ่ม เงินสัจจะสะสม.
กระบวนการขับเคลื่อนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง
กลุ่มงานส่งเสริม การพัฒนาทุน
กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตต้นแบบ
วันพุธที่ 20 ตุลาคม 2553 ณ ประชุม War room กรมการพัฒนาชุมชน
การมอบหมายภารกิจผู้นำชุมชน หลังเสร็จสิ้นการฝึกอบรม
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
ความเป็นมา จัดตั้งตามคำสั่งกรมส่งเสริม การเกษตรที่ 384/2548 ตั้งสำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ ชุมชน และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน เพื่อ รองรับภารกิจตามพระราชบัญญัติ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
แนวทางการมีส่วนร่วมของกรมฯ การปฏิบัติของจังหวัด
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
สรุปผลการดำเนินงาน สพอ.เดิมบางนางบวช ระหว่างวันที่ ตุลาคม 2557
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
ภารกิจจัดที่ดิน ปีงบประมาณ 2553
ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดที่
การบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ปี 2558
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2558
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
มติ คปก. 3/2549 วันที่ 29 กันยายน 2549
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
กลุ่ม 9 การพัฒนา บุคลากรของ สหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร.
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
ระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ / กรม
การพัฒนาองค์กรสตรี กรมการพัฒนาชุมชน ดําเนินการ พัฒนาสตรีมาพร้อม ๆ กับการก่อตั้งกรมฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๐๕ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต สตรี พัฒนาครอบครัว พัฒนาอาชีพ.
1.1 ผลการปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติราชการของ จังหวัด 1) ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบายการกำ ดับดูแลองค์การที่ดีจังหวัดแพร่ 2) ปฏิบัติราชการตามคำรับรองปฏิบัติราชการและการ.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสหกรณ์ออมทรัพย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวคิดและหลักการส่งเสริมการตรวจสุขภาพ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน กองทุนการเงินชุมชน นิสิต จันทร์สมวงศ์ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน

สนับสนุน ส่งเสริม กำกับ 1. ศักยภาพของกองทุนการเงินชุมชนในการเปลี่ยนแปลงสังคม สนับสนุน ส่งเสริม กำกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต โครงการ กข.คจ. 82,000 กลุ่ม เงินหมุนเวียน 100,000 ล้านบาท 34,530 กลุ่ม เงินหมุนเวียน 25,247 ล้านบาท 29,234 กลุ่ม เงินหมุนเวียน 8,468.51 ล้านบาท รัฐบาลส่งเสริม ดำเนินการโดยประชาชน รัฐบาลกำกับดูแล

บทบาทกรมการพัฒนาชุมชน บทบาทกรมการพัฒนาชุมชน 2. บทบาทของกรมการพัฒนาชุมชน ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างไร ? บทบาทกรมการพัฒนาชุมชน (เดิม) บทบาทกรมการพัฒนาชุมชน (ใหม่) ● การดำเนินการกองทุนหมู่บ้านและ ชุมชนเมือง ● จัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ● บริหารโครงการ กข.คจ. ● บทบาทในการตรวจสุขภาพของ กองทุนการเงินชุมชน ● พัฒนากรจะเป็นคุณหมอทาง การเงินที่จะเอาปรอทไปวัด สุขภาพทางการเงิน ● สนับสนุน / ส่งเสริม / กำกับ

3. ทำไมต้องตรวจสุขภาพทางการเงิน ของกองทุนการเงินชุมชน ? และ ของกองทุนการเงินชุมชน ? และ ตรวจไปเพื่ออะไร ? 1 กองทุนการเงินต่างๆ ดำเนินการมานาน ต้องการกรอบแนวทางการพัฒนา 2 กองทุนการเงินมีจำนวนมาก ขยายเพิ่มมากขึ้น ต้องการการดูแล 3 การบริหารงานมาเป็นเวลานาน ขาดความโปร่งใส / ตรวจสอบ 4 การนำกองทุนการเงินไปใช้ประโยชน์

ส่งเสริม/สนับสนุน / พัฒนา/กำกับดูแล 4. ขั้นตอนการตรวจสุขภาพ กองทุนการเงินชุมชน ขั้นเตรียมการ ส่งเสริม/สนับสนุน / พัฒนา/กำกับดูแล ติดตาม / ประเมินผล เป้า หมาย ● สนับสนุนการดำเนินการตรวจสุขภาพกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง (กทบ.) ● กลุ่มออมทรัพย์ฯ 5,000 กองทุน ● กองทุน กข.คจ. 3,400 กองทุน กิจกรรม อำเภอ ● ประเมินผลตัวเอง (Self- Assessment) จังหวัด ● ตรวจผลการประเมิน ● ประกาศความสำเร็จ ● ประกวดระดับจังหวัด กรม ● แสดงผลงาน ● ให้รางวัลแรงจูงใจ กิจกรรม อำเภอ ● ตรวจสุขภาพโดยทีม ● วางแผนการตรวจ จังหวัด ● สนับสนุน / พัฒนา / ช่วยเหลือ / ติดตาม กรม ● ประเมินผล ● สุ่มตัวอย่างตรวจ กิจกรรม ● สร้างเครื่องมือ ● ทำทะเบียน ● คัดเลือกกองทุนเป้าหมาย ● สร้างทีมตรวจสุขภาพ ● คู่มือ ● วางแผนตรวจ

5. เงินครบ ระบบดี ระเบียบ มีธรรมาภิบาล มีกิจกรรมส่งเสริม 5. เงินครบ ระบบดี ระเบียบ มีธรรมาภิบาล มีกิจกรรมส่งเสริม ความอยู่ดีกินดีของประชาชน กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต กองทุนโครงการ กข.คจ. กองทุนหมู่บ้าน (กทบ.) มีสวัสดิการแก่สมาชิก สมาชิดไม่มีหนี้นอกระบบ สมาชิกพ้นเกณฑ์ความยากจน มีกิจกรรมเครือข่ายอย่างน้อย 3 กิจกรรม มีระเบียบฯ (ขยายผล) กลุ่มฯ ทะเบียนบัญชีครบถ้วน ถูกต้อง เงินอยู่ครบ สมาชิกกู้เงินไปประกอบอาชีพได้ร้อยละ 20 มีทะเบียน บัญชีถูกต้อง มีคณะกรรมการครบถ้วน ตามวาระ สมาชิกพ้นจน สมาชิกมีอาชีพมั่นคงจากเงินกู้ มีสวัสดิการ ท้องถิ่นช่วยดูแลสนับสนุน มีการตรวจสอบโดยเจ้าหน้าที่ ทุกปี จดทะเบียนนิติบุคคล บริษัทในรูปแบบนิติบุคคลอย่างเป็นรูปธรรม มีการจัดสวัสดิการ มีเงินครบถ้วน ทะเบียนบัญชีถูกต้องครบถ้วน พัฒนาสู่สถาบันเงินทุนชุมชน มีการตรวจบัญชีทุกปี โดยผู้ตรวจสอบบัญชี ที่กองทุนแต่งตั้ง การวิเคระห์แบบนี้ไม่เหมาะสมกับการควบคุมโครงการ ไม่ใช่เป็นการมองโครงการไปข้างหน้า ไม่ได้ชี้เห็นมูลค่าของงานที่เสร็จไปแล้ว

5. เงินครบ ระบบดี ระเบียบ มีธรรมาภิบาล มีกิจกรรมส่งเสริม 5. เงินครบ ระบบดี ระเบียบ มีธรรมาภิบาล มีกิจกรรมส่งเสริม ความอยู่ดีกินดีของประชาชน (ต่อ) กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต กองทุนโครงการ กข.คจ. กองทุนหมู่บ้าน (กทบ.) 9. ชุมชนไม่มียาเสพติด 10. ท้องถิ่นสนับสนุน 11. มีการตรวจสอบบัญชีโดยผู้ตรวจสอบบัญชี 12. สมาชิกดำเนินชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง 13. มีการประกันความเสี่ยงไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 14. เป็นสมาชิกเครือข่าย 8. สมาชิกไม่มีหนี้นอกระบบ 9. ชุมชนไม่มียาเสพติด 10. สมาชิกดำเนินชีวิตตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 11. สมาชิกนำเงินไปสร้างงาน สร้างอาชีพได้ ไม่น้อยกว่า 20% 12. เป็นสมาชิกเครือข่ายตำบล 13. มีประกันความเสี่ยง

การนำไปใช้อย่างคุ้มค่า 6. เป้าหมายของกรม เป้าหมายของจังหวัด เป้าหมายของอำเภอ “เป้าหมายของพวกเรา” ● บทบาทกรมการพัฒนาชุมชนในฐานะเป็นหน่วยงานสำคัญของรัฐบาลในการ ดูแลเงินของรัฐบาลให้มีการใช้อย่างธรรมาภิบาล ● บทบาทของจังหวัดในการส่งเสริม พัฒนา ช่วยเหลือ ให้คำปรึกษา อำเภอใน การตรวจสุขภาพทางการเงินและประเมินผล ● บทบาทของอำเภอในการตรวจสุขภาพกองทุนต่างๆ โดยทีมตรวจสุขภาพ การวิเคระห์แบบนี้ไม่เหมาะสมกับการควบคุมโครงการ ไม่ใช่เป็นการมองโครงการไปข้างหน้า ไม่ได้ชี้เห็นมูลค่าของงานที่เสร็จไปแล้ว เป้าหมาย 1 2 3 กองทุนการเงินมี ความมั่นคง กองทุนการเงินมี ธรรมาภิบาล กองทุนการเงินมี การนำไปใช้อย่างคุ้มค่า

Q & A