โครงการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กในชุมชน ด้านสุขภาพอนามัยและพัฒนาการ ของเด็ก พ โครงการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กในชุมชน ด้านสุขภาพอนามัยและพัฒนาการ ของเด็ก พ.ศ. 2553 - 2555
สิ่งที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการ พันธุกรรม โภชนาการ ครอบครัว สิ่งแวดล้อม สมอง ร่างกาย พัฒนาการด้านพฤติกรรม การเจริญเติบโตของร่างกาย
ความหวังของพ่อแม่ทุกคน น้ำหนักแรกคลอดปกติ ไม่มีภาวะแทรกซ้อน
พัฒนาการสมวัยเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี (Denver II) พ.ศ. 2542 / 2547 ร้อยละ
พัฒนาการของเด็กปฐมวัยแรกเกิด – 5 ปี พ.ศ. 2542, 2547, 2550,2553 ร้อยละ พ.ศ. * ประเมินโดยเครื่องมือ Denver II
104 98 91 91 88 ไทย(51-52)
ผลการสำรวจพัฒนาการเด็กปฐมวัย ปี2550 ( DENVER II ) พัฒนาการรวม ปกติ 67.7 ด้านสังคมและการช่วยเหลือตัวเอง ปกติ 93.8 ด้านภาษา ปกติ 78.2 ด้านกล้ามเนื้อและปรับตัว ปกติ 92.0 ด้านกล้ามเนื้อมัดใหญ่ ปกติ 96.0
ผลการสำรวจพัฒนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็ก เขต 4,5 ปี2550 (Modified Denver II และ อนามัย 49 ) Modified Denver II อนามัย 49 พัฒนาการรวม 52.0 48.8 ด้านสังคมและการช่วยเหลือตนเอง 88.2 97.1 ด้านภาษา 82.6 66.0 ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก 66.0 61.0 ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ 96.7 -
การเจริญเติบโต ข้อมูลประเทศ ข้อมูลเขต 4,5 ข้อมูลประเทศ ข้อมูลเขต 4,5 เด็กปฐมวัย เด็กในศูนย์เด็กเล็ก น้ำหนักตามเกณฑ์ 84.8 % 87.0 % น้ำหนักมากกว่าเกณฑ์ 7.6 % 6.2 % น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ 7.6 % 6.8 % เป้าหมาย น้ำหนักตามเกณฑ์ ร้อยละ 85 ส่วนสูงตามเกณฑ์ ร้อยละ 93 รูปร่างสมส่วน ร้อยละ 85
ภาวะส่วนสูง IQ เตี้ยกว่าเกณฑ์ 88.05 ค่อนข้างเตี้ย 88.47 สูงตามเกณฑ์ 94.58 สูงกว่าเกณฑ์ 94.24
ปัจจัยที่มีผลต่อสมอง สมองจะเจริญเติบโตดี (ฉลาด) 1. มีกิจกรรมกลุ่ม มี ปฏิสัมพันธ์กับสังคม 2. ได้ทำงาน / เรียนในสิ่งที่ชอบ 3. การละเล่นต่างๆ / เล่นกับเพื่อน 4.ได้ฟังนิทาน 5.ศิลปะ ดนตรี กีฬา ออกกำลังกาย ร้องเพลง
ปัจจัยที่มีผลต่อสมอง สมองจะเจริญเติบโตดี (ฉลาด) 6. ได้รับคำชมเชยเสมอ 7.มองภาพตนเองบวก 8.เป็นคนยืดหยุ่นไม่เข้มงวดเกินไป 9.ช่วยเหลือตัวเองตามวัย
ปัจจัยที่มีผลต่อสมอง สมองจะเจริญเติบโตดี (ฉลาด) 10.ได้รับความรักความอบอุ่นจากพ่อแม่ 11.ทัศนะศึกษา / สัมผัสของจริง 5 หมู่ 13.สิ่งแวดล้อมที่ดี
ปัจจัยที่มีผลลบต่อสมอง 1.มีความเครียดนานๆจากสาเหตุต่างๆ ได้แก่ 1.1 ถูกบังคับให้เรียน / ทำในสิ่งที่ไม่ชอบ 1.2 ทำงาน เรียนหนัก การบ้านมากไม่มีเวลาพักผ่อน 1.3 ถูกดุ ด่าทุกวัน 1.4 มองคุณค่าตัวเองต่ำ
ปัจจัยที่มีผลลบต่อสมอง 1.มีความเครียดนานๆจากสาเหตุต่างๆ ได้แก่ 1.5 วิตกกังวล ทุกข์นานๆ 1.6 ความกลัว โกรธนานๆ 1.7 เข้มงวดเกินไป
2. สมองไม่ถูกใช้ หรือถูก กระตุ้นเลย 3. ขาดสารอาหาร 4.การได้รับสารพิษ เช่น ยาเสพติด
ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ สุขภาพและพัฒนาการ บริการ สื่อส่งเสริมพัฒนาการ ผู้ดูแลเด็ก สิ่งแวดล้อม นอกอาคาร ในอาคาร การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นวัตกรรม
ค่าเป้าหมาย/ตัวชี้วัดของโครงการ ผลลัพธ์ ปี 2555 • เด็กปฐมวัย สมส่วน พัฒนาการสมวัย • ศูนย์เด็กเล็กเรียนรู้ ค่าเป้าหมาย/ตัวชี้วัด ปี 2554 1. ร้อยละ 100 เด็กกลุ่มเป้าหมายได้รับชุดหนังสือเล่มแรก (แรกเกิด เด็กอายุ 6 เดือน 12 เดือน) 2. ศูนย์เด็กเล็กพัฒนาเป็นศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ ระดับพื้นฐาน เป็น ระดับดี 4,522 ศูนย์ ระดับดี เป็นระดับดีมาก 2,000 ศูนย์
2. พัฒนาคุณภาพ ศูนย์เด็กเล็ก 3. อสม./องค์กรปกครองท้องถิ่น การพัฒนาศูนย์เด็กเล็กในชุมชนด้านสุขภาพอนามัยและการพัฒนาการของเด็ก พ.ศ. 2553 - 2555 1. หนังสือเล่มแรก จนทสธ มีความรู้ ทักษะ พ่อแม่ใช้หนังสือกับเด็ก อสม. ส่งเสริม/ติดตาม ผลลัพธ์ เด็กปฐมวัย สมส่วน พัฒนาการสมวัย ศูนย์เด็กเล็กเรียนรู้ 2. พัฒนาคุณภาพ ศูนย์เด็กเล็ก ครูพี่เลี้ยงมีความรู้ทักษะ ประเมินและรับรองคุณภาพศูนย์เด็กเล็ก 4. การบริหารจัดการ รพ.สต.ติดตาม อสม ครูพี่เลี้ยง สร้างกระแสสังคม ประเมินโครงการ 3. อสม./องค์กรปกครองท้องถิ่น อสม มีความรู้ ทักษะ อปท. มีส่วนร่วม สนับสนุน
แผนงาน 1 หนังสือเล่มแรก กิจกรรม 1. มอบหนังสือเด็ก 3 กลุ่มอายุ เด็กแรกเกิด “ตั้งไข่ล้ม” มอบแม่หลังคลอด เด็ก 6 เดือน “ติ๊กต่อก” ที่ WCC เด็ก 12 เดือน “นิทานอีสป” ที่ WCC 2. มอบเอกสารแนะนำพ่อแม่ทุกคน เลี้ยงลูกด้วยหนังสือ 800,000 แผ่น 3. พัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้อง สอนพ่อแม่ - พยาบาล ครูพี่เลี้ยง อสม (ดำเนินการแล้ว)
แผนงาน 2 พัฒนาคุณภาพศูนย์เด็กเล็ก ด้านสุขภาพอนามัยและพัฒนาการ แผนงาน 2 พัฒนาคุณภาพศูนย์เด็กเล็ก ด้านสุขภาพอนามัยและพัฒนาการ
เป้าหมาย ปี 2553 ศูนย์เด็กเล็กที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 4,667 แห่ง ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ระดับพื้นฐาน พัฒนาเป็นระดับดี จำนวน 876 แห่ง ปี 2554 ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ระดับพื้นฐาน พัฒนาเป็นระดับดี จำนวน 4,522 แห่ง ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ระดับดี พัฒนาเป็นระดับดีมาก จำนวน 2,000 แห่ง ปี 2555 ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ระดับพื้นฐาน พัฒนาเป็นระดับดี จำนวน 5,832 แห่ง ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ระดับดี พัฒนาเป็นระดับดีมาก จำนวน 2,000 แห่ง
แผนการพัฒนาศูนย์เด็กเล็ก เวลา สิ้นปีงบ2553 สิ้นปีงบ2554 สิ้นปีงบ2555 ดีมาก 3,146 5,146 7,146 ดี 5,667 6,543 9,065 12,897 พื้นฐาน 6,563 10,354 5,832 ไม่ผ่าน 4,667 รวม 20,043 ก่อนโครงการ มาตรฐาน
เขตสาธารณสุขที่ 4 นครปฐม 143 137 95.80 22 52 59 3 6 จังหวัด ศดลทั้งหมด ผ่าน ร้อยละ ดีมาก ดี พื้นฐาน ไม่ผ่าน ยังไม่ประเมิน ราชบุรี 204 204 100 98 69 37 0 0 นครปฐม 143 137 95.80 22 52 59 3 6 กาญจนบุรี 234 234 100 33 71 112 18 0 สุพรรณ 267 250 93.63 58 99 85 8 17 รวม 848 825 97.29 211 291 293 29 23
เขตสาธารณสุขที่ 5 จังหวัด ศดลทั้งหมด ผ่าน ร้อยละ ดีมาก ดี พื้นฐาน ไม่ผ่าน ยังไม่ประเมิน เพชรบุรี 160 157 98.13 43 53 59 2 3 สมุทรสงคราม 64 64 100 10 29 4 21 0 สมุทรสาคร 66 66 100 17 23 26 0 0 ประจวบฯ 85 71 83.53 35 22 8 6 14 รวม 375 358 95.47 105 127 97 29 17
กิจกรรม - อบรมครูพี่เลี้ยง - สนับสนุนคู่มือปฏิบัติงานครูพี่เลี้ยง - ประเมินรับรองศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ - คัดเลือกศูนย์เด็กเล็กพัฒนาดีเด่น ด้านสุขภาพอนามัย พัฒนาการ เจริญเติบโต - นิเทศ กำกับ ติดตาม
พัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุข แผนงาน 3 พัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุข กิจกรรม - อบรม อสม ใช้หนังสือเล่มแรก - มอบคู่มือปฏิบัติงานอาสาสมัครฯ ( 500,000 เล่ม)
แผนงาน 4 บริหารจัดการ กิจกรรม 1. มีคณะกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัยระดับจังหวัด - วางแผนงาน กำกับ ติดตามงาน - ประเมินโครงการ 2. สร้างแรงจูงใจ - เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้/มอบเกียรติบัตร ศูนย์เด็กเล็กที่พัฒนาด้านสุขภาพอนามัย พัฒนาการ โภชนาการ ดีเด่น ของจังหวัด 3. ประชาสัมพันธ์