ซอฟต์แวร์ที่น่าสนใจ AutoDesk 3D MAX 8

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบเพิ่มแก้ไขข้อมูล หน่วยเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา.
Advertisements

การจัดทำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต (BMA GIS ONLINE)
ใบความรู้ 3 ระบบคอมพิวเตอร์.
วิธีทำ พื้นหลัง แบบมิติแสง โปร่งใส
บทที่ 5 การปรับแต่งสไลด์ด้วยภาพ
การทำลิงค์ภายใน Copy.
Google Maps.
เรื่อง การประยุกต์ใช้ : ลูกเล่นโฟโต้ช๊อป
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต รหัสวิชา
เรื่อง การประยุกต์ใช้ : โปสการ์ด/กรอบรูป
การใช้บริการกูเกิล (Google) 1 การใช้บริการ Gmail 2 การใช้บริการ รูปภาพ บนเว็บ Google 3 การใช้บริการ Google Earth.
การโต้ตอบแบบ Target Area
การวาดและการทำงานกับวัตถุ
เทคนิคการใช้งาน Windows 8
Project Management.
By…Porta Boonyatearana
Microsoft Word XP โดย พิสมัย น้ำจันทร์.
การพิมพ์เอกสารออกทาง เครื่องพิมพ์. การตรวจเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Print Preview เราสามารถตรวจสอบความถูกต้องของ เอกสารก่อนสั่งพิมพ์โดยใช้คำสั่ง Print Preview.
ตัวอย่างขั้นตอนในการสืบค้นข้อมูล
การใช้งานPowerPoint รู้จักกับ Microsoft PowerPoint2003ใบงานที่1
บทที่ 6 การใส่เอฟเฟ็กต์ให้เนื้อหา
บทที่ 9 การใส่รูปภาพ (Image).
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
โปรแกรม Microsoft Access
เริ่มต้น Photoshop CS5.
การสร้าง Digital Video ด้วย Window Movie Maker
การใช้งาน Microsoft Windows XP
โปรแกรม DeskTopAuthor
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Word 2003
การใช้เครื่องมือพื้นฐานของ Word
การใส่ภาพลงบน Work Sheet...
เรื่อง การนำเสนอข้อมูลด้วยกราฟ
รายงาน เรื่อง จัดรูปแบบข้อมูล จัดทำโดย ด. ญ. ธิกานดา วัลยาภรณ์ ชั้นม.2/1 เลขที่ 19 เสนอ อาจารย์ ภานุมาศ ชาติมองแดง โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต.
โปรแกรม SwishMAX.
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ระบบปฏิบัติการวินโดวส์เบื้องต้น
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Power Point
บทที่ 4 Power Point ขั้นตอนการทำสไลด์ รายละเอียดหน้าจอของ Power Point
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
โปรแกรม Microsoft Access
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
บทที่ 4 การทำงานกับรายงาน (Report)
Symbol & Instance.
การตั้งค่า Mouse จัดทำโดย นายนรินทร์ เรือนคำ เลขที่ 13
ซอฟต์แวร์ ที่สนใจ Ulead Photo Express
พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม Flash CS3
CorelDRAW 12.
Tip & Trick ตัดต่อ และซ้อนภาพ ปรับแต่งภาพให้สีสันสดใส
นางสาวพรรณาวดี ชาติทอง
กิจกรรมคอมพิวเตอร์ การใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS3.
การใช้โปรแกรม powerpoint
งานนำเสนอ power point วิชา cp101 เรื่อง ซอฟต์แวร์ที่สนใจ
3D MAX ซอฟท์แวร์ที่สนใจ น.ส.กมลชนก ดาวแดน เลขประจำตัวนิสิต
1 ซอฟท์แวร์ที่ น่าสนใจ จัดทำโดย นางสาวรัชดา ณรงค์ ns B06.
บทที่ 9 การใช้งานฟอร์มและคอนโทรลต่าง ๆ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้สอน นายกฤษชนะ สิงคาร
นางสาวขวัญชนก ขจรภพ รหัสนิสิต กลุ่ม B06 คณะพยาบาลศาสตร์
สร้างและจัดการกับแผ่นสไลด์
เริ่มต้น Photoshop CS5.
เนื้อหาสาระ หลักการ ข้อดีของ ข้อเสียของ ตัวอย่าง คืออะไร ของ ประเภทของ
Adobe Photoshop เทคนิคพิเศษ และฟิลเตอร์
จุดเด่น Windows XP นี้ก็ได้ถือกำหนดใหม่ขึ้นมา โดยนำความสามารถ ของ Windows รุ่นก่อน ๆ เช่น 98, Me และ 2000 เข้าด้วยกัน จุดเด่นหลัก ของของ Windows XP นี้
Graphic Design 03.
Flash Get ซอฟต์แวร์ที่น่าสนใจ Flash Get นี้ เป็นโปรแกรมช่วย ดาวน์โหลด โปรแกรมหนึ่ง โดยที่ โปรแกรมจะแยกไฟล์ดาวน์โหลด เป็นส่วนๆทำให้เนทที่ช้าสามารถ โหลดได้เร็วขึ้น.
บทที่ 2 การเข้าสู่โปรแกรม Microsoft Office Word 2003
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับโปรแกรม
เทคนิคการใช้ โปรแกรมเพาเวอร์พอยต์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ซอฟต์แวร์ที่น่าสนใจ AutoDesk 3D MAX 8 น.ส.เพียงฤทัย สกุลพราหมณ์ sc51102010314 ตอนเรียน B03

AutoDesk 3D MAX 8 รายละเอียดของซอฟต์แวร์ ลักษณะของซอฟต์แวร์ 4/10/2017 AutoDesk 3D MAX 8 รายละเอียดของซอฟต์แวร์ ลักษณะของซอฟต์แวร์ ความสามารถของซอฟต์แวร์ เหตุผลที่สนใจ หน้าตาของโปรแกรม 3Ds MAX เครื่องมือใช้งานหลัก ๆ บนแถบเครื่องมือ ตัวอย่างการใช้ 3Ds MAX  ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง ตัวอย่างผลงาน จัดทำโดย น.ส.เพียงฤทัย สกุลพราหมณ์ sc51102010314 ตอนเรียน B03

รายละเอียดของซอฟต์แวร์ ชื่อซอฟต์แวร์ : AutoDesk 3D MAX 8 ผลิตโดยบริษัท : Autodesk ประเทศ : สหรัฐอเมริกา ประเภทของซอฟต์แวร์ : Commercial Software เวอร์ชั่น : 3D MAX 8 ระบบวินโดว์ที่รองรับการใช้งาน : Microsoft® Windows Vista® and XP Professional น.ส.เพียงฤทัย สกุลพราหมณ์ sc51102010314 ตอนเรียน B03

ความสามารถของซอฟต์แวร์ 4/10/2017 ความสามารถของซอฟต์แวร์ Modeling Rendering Animation น.ส.เพียงฤทัย สกุลพราหมณ์ sc51102010314 ตอนเรียน B03

เหตุผลที่สนใจ ความสามารถนำมาประกอบใช้ในชีวิตประจำวัน เมื่อใช้ซอฟต์แวร์แล้วทำให้เกิดความเพลิดเพลินสนุกสนาน เป็นซอฟต์แวร์ที่ใหม่น่าสนใจ สามารถออกแบบสิ่งที่เราต้องการได้ ทำได้ Animation ออกแบบบ้านได้ เคยเรียนซอฟต์แวร์นี้แล้วชอบ ช่วยเสริมสร้างจินตนาการ น.ส.เพียงฤทัย สกุลพราหมณ์ sc51102010314 ตอนเรียน B03

4/10/2017 ลักษณะของซอฟต์แวร์ สุดยอดโปรแกรม 3D ระดับมืออาชีพด้วยความสามารถที่หลากหลายไม่ว่า Modeling ซึ่งมีเครื่องมืออำนวยความสะดวกากมาย ทำให้ขึ้น Model ที่มีความซับซ้อนได้อย่างรวดเร็ว , Rendering ที่เต็มไปด้วยความสามารถในการปรับแต่งแสงในรูปแบบต่างๆ หาร render แบบ Radiosity ที่ให้ความสมจริงของแสงถึงที่สุด , และความสามารถในการทำ Animation เพื่องาน Presentation ที่สมบูรณ์แบบ น.ส.เพียงฤทัย สกุลพราหมณ์ sc51102010314 ตอนเรียน B03

หน้าตาของโปรแกรม 3Ds MAX น.ส.เพียงฤทัย สกุลพราหมณ์ sc51102010314 ตอนเรียน B03

เครื่องมือใช้งานหลัก ๆ บนแถบเครื่องมือ Undo & Redo ใช้ในการย้อนกลับและกลับไปทำซ้ำ ซึ่งจะเป็นเครื่องมือที่ใช้มากที่สุด  Selection ใช้ในการเลือก Object ต่างๆ ในจอทำงาน โดยจะมีลักษณะการเลือกต่างๆ อยู่ด้านข้าง  Move ใช้ในการเคลื่อนย้าย Object ในจอทำงาน  Rotate ใช้ในการหมุน Object  Scale ใช้ในการปรับเปลี่ยนขนาดของ Object Constraint ใช้ในการควบคุมแกน x, y, z ในการทำงาน น.ส.เพียงฤทัย สกุลพราหมณ์ sc51102010314 ตอนเรียน B03

ต่อ Zoom ใช้ในการย่อ-ขยายจอทำงานที่ทำงานอยู่ Zoom all ใช้ในการย่อ-ขยายจอทำงาน โดยทุกจอทำงานจะถูกย่อ-ขยายไปด้วย Zoom extents ใช้ในการย่อจอทำงานให้สามารถเห็น Object ทั้งหมดในจอทำงานที่ทำงานอยู่ Zoom extents all ใช้ในการย่อจอทำงานให้สามารถเห็น Object ทั้งหมดในจอทำงานทุกจอ Region zoom ใช้ในการขยายจอทำงานโดยใช้การลากเมาส์ คลุม บริเวณที่ต้องการขยาย Pan ใช้ในการเลื่อนจอทำงานเพื่อให้แสดงบริเวณที่ไม่สามารถเห็นในจอทำงานตอนแรก Arc rotate ใช้ในการหมุนจอทำงาน เพื่อดู Object ในมุมมองอื่นๆ Min/max toggle ใช้ในการย่อ-ขยายจอทำงานที่ทำงานอยู่ ให้แสดงผลเต็มจอภาพ น.ส.เพียงฤทัย สกุลพราหมณ์ sc51102010314 ตอนเรียน B03

ตัวอย่างการใช้ 3Ds MAX การหักเหของแสงในวัตถุโปร่งใส ขั้นตอนที่ 1. เริ่มจากใช้คำสั่ง Line ใน Shapes > Splines >Line สร้าง Shapes ตามรูปร่างที่เราต้องการ น.ส.เพียงฤทัย สกุลพราหมณ์ sc51102010314 ตอนเรียน B03

ต่อ ขั้นตอนที่ 2. ใช้คำสั่ง Lathe ในส่วน Modifier List แล้ว Click ที่ส่วน Weld Core และ Flips Normals ในส่วน Align เลือกคำสั่ง Min, Center หรือ Max เพื่อให้ได้ออกมาดังรูป เพิ่ม Segment เป็น 30 เพื่อไม่ให้เกิดเหลี่ยม น.ส.เพียงฤทัย สกุลพราหมณ์ sc51102010314 ตอนเรียน B03

ต่อ ขั้นตอนที่ 3. ใช้คำสั่ง Plane ในส่วน Standard Primetives เพื่อสร้างพื้นให้กับแก้วของเราแล้วปรับสีพื้นให้เป็นสีเทาที่ color น.ส.เพียงฤทัย สกุลพราหมณ์ sc51102010314 ตอนเรียน B03

ต่อ ขั้นตอนที่ 4.เราจะมาสร้างแสงโดยใช้คำสั่ง Light > Target Spot โดยจะสร้างเป็น Spot Light แล้วปรับค่า Parameters ดังนี้ Shadow = On Shadow Selection = Ray Traced Shadows Multiplier = 0.7 Shadows Parameters Color = Hue =0, Sat = 0, Value = 178 Dens = 2.0 - เมื่อ Set ค่า แล้วให้ Click ที่ Edit > Clone (ทำการ Copy Spot Light ขึ้นมาอีก 1 ตัว) แล้ว Click OK - เสร็จแล้ว Set ค่า Spot Light ตัวที่ 2 ดังนี้ (กดปุ่ม h เพื่อเลือก Select ในรูป menu) Shadow = On Shadow Selection = Shadows Map Multiplier = 0.7 Shadows Parameters Color = Hue =0, Sat = 0, Value = 20 Dens = 0.6 น.ส.เพียงฤทัย สกุลพราหมณ์ sc51102010314 ตอนเรียน B03

ต่อ น.ส.เพียงฤทัย สกุลพราหมณ์ sc51102010314 ตอนเรียน B03

ต่อ ขั้นตอนที่ 5. กดปุ่ม M เพื่อเลือก Meterial Editor แล้วไปที่ Blinn Basic Parameters Rollout ปรับค่า Specular Level = 95, Glossiness = 45 เสร็จแล้วไปที่ Maps Rollout Click ที่ Reflaction Map แล้วเลือก Raytrace Map จาก Material/Map Browser ที่ Opacity Map กำหนดให้เป็น Falloff Map, Falloff Direction = Local x Axis เสร็จแล้ว Assign Material ให้กับ Lathe Object ของเรา แล้วทำการ Render เพื่อชมผลงานได้เลยครับ น.ส.เพียงฤทัย สกุลพราหมณ์ sc51102010314 ตอนเรียน B03

ต่อ น.ส.เพียงฤทัย สกุลพราหมณ์ sc51102010314 ตอนเรียน B03

ลิงค์ที่เกี่ยวข้องและสามารถดาวน์โหลดทดลองใช้ได้ที่ http://usa.autodesk.com/adsk/servlet/mform?id=10083915&siteID=123112 http://www.212cafe.com/freewebboard/view.php?user=louis008&id=11 น.ส.เพียงฤทัย สกุลพราหมณ์ sc51102010314 ตอนเรียน B03

ตัวอย่างผลงาน น.ส.เพียงฤทัย สกุลพราหมณ์ sc51102010314 ตอนเรียน B03

จัดทำโดย นางสาวเพียงฤทัย สกุลพราหมณ์ SC51102010314 นางสาวเพียงฤทัย สกุลพราหมณ์ SC51102010314 วิทยาศาสตร์-ฟิสิกส์ (SC14B) ตอนเรียน B03 น.ส.เพียงฤทัย สกุลพราหมณ์ sc51102010314 ตอนเรียน B03