บทที่ 7 การพยากรณ์ยอดขาย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวางแผนกำหนดกลยุทธ์ทางการตลาด
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การจัดการผลิตอย่างเป็นระบบ
การเลือกคุณภาพสินค้า
บทที่ 2 แนวคิดและความสำคัญของงานการขาย
ตัวอย่าง SWOT Analysis
Product and Price ครั้งที่ 8.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ระบบการบริหารการตลาด
หลักการพัฒนา หลักสูตร
รูปแบบและโครงสร้างของการประกอบธุรกิจเครือข่าย
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ และสาเหตุที่ทำให้ผลิตภัณฑ์ใหม่ล้มเหลว
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
หลักการประกอบธุรกิจสมัยใหม่
บทที่ 8 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce)
การวิจัยธุรกิจ (Business Research) การวิจัยธุรกิจ กระบวนการที่ดำเนินอย่างมีระเบียบกฎเกณฑ์ กระบวนการที่ดำเนินอย่างมีระเบียบกฎเกณฑ์ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลและดำเนินงานกับข้อมูล.
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
การกำหนดกลยุทธ์การตลาด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
สารบัญ คำนำ หน้า บทสรุปผู้บริหาร วิสัยทัศน์&ภารกิจ
บทที่7 ช่องว่างองค์กร 12/9/05 ช่องว่างองค์กร.
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารงานขาย
กระบวนการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและการวางแผน
ขับเคลื่อนนวัตกรรม ด้วยการเข้าใจตลาดและผู้ใช้
ผู้จัดการฝ่ายขายมืออาชีพ (Professional Sales Manager)
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
Computer Application in Customer Relationship Management
หัวข้อวิชา การเพิ่มศักยภาพในการเป็นผู้นำ และการนำเสนอข้อมูล
การวางแผนกำลังการผลิต
สาเหตุของการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในธุรกิจ
IS กับ IT IS ต้องอาศัย IT
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
บทที่ 3 การผลิตและการวางแผนฟาร์ม
การบริหารและกระบวนการวางแผน
ตัวอย่างการพยากรณ์ยอดขาย
บทที่ 4 การวางแผนการตลาดและแผนการขาย
นางสาว กรรณิการ์ ปัญญาเมืองใจ
การจัดทำแผนธุรกิจ.
โครงสร้างขององค์การ.
บทที่ 17 อิทธิพลของสถานการณ์
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
หลักสูตร สู่ความสำเร็จในการขายสินค้าอุตสาหกรรม
การวางแผนการผลิต และการบริการ
การแบ่งส่วนตลาด การเลือกตลาดเป้าหมาย และการวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์STP
การจ่ายค่าตอบแทนให้กับพนักงานขาย
ส่งเสริมการขาย เกมกลยุทธ์
บทบาทของข้อมูลการตลาด
บทที่ 3 กระบวนการวิจัยตลาดและการกำหนดปัญหาการวิจัย
หลักการเขียนโครงการ.
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
การออกแบบการวิจัย.
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
การวัดการวิจัยในการตลาด
บทที่ 4 กลยุทธ์การค้าปลีก
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย
บทที่ 4 ส่วนประสมการตลาด
ความสำคัญและประโยชน์ ของการวิจัยการตลาด
บทที่1 การบริหารการผลิต
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
Home Builder Industrial. จุดเด่นของธุรกิจรับ สร้างบ้าน ธุรกิจที่ไม่ได้อาศัยเงินลงทุนสูง เข้ามาดำเนินธุรกิจง่าย ตอบสนองความต้องการของ ผู้บริโภค แบบบ้านที่สามารถ.
ความหมายของวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์
หลักการประกอบธุรกิจสมัยใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 7 การพยากรณ์ยอดขาย

ความหมายของการพยากรณ์การขาย หมายถึง การคาดคะเนหรือการกำหนดปริมาณขาย หรือยอดขายในอนาคตของแต่ละธุรกิจ ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง และในตลาดหนึ่ง ซึ่งผลของการพยากรณ์จะออกมาในลักษณะปริมาณขายว่าควรจะขายได้จำนวนเท่าใดในอนาคต

ความหมายของการพยากรณ์การขาย(ต่อ) 1. ศักยภาพตลาด แนวคิดนี้ก็คือตลาดถึงมีความคาดหวัง เป็นการคาดคะเนเชิงปริมาณของโอกาสในการขายสูงที่น่าจะเป็นไปได้ในตลาดใดตลาดหนึ่ง และโอกาสนั้น ๆ เปิดให้ผู้ขายทุกคนที่จะเข้าไปขายสินค้าหรือบริการในอนาคต ตัวอย่างเช่น ศักยภาพตลาดของเครื่องดื่มประเภทเบียร์มีศักยภาพ 4 หมื่นล้านบาทต่อปี หรือศักยภาพของเครื่องดื่มบำรุงกำลัง มีศักภาพ 3 หมื่นล้านบาทต่อปีเป็นต้นไป

ความหมายของการพยากรณ์การขาย(ต่อ) 2. ศักยภาพการขาย แนวคิดนี้ก็คือ โอกาสของการขายสูงสุดของบริษัทใดบริษัทหนึ่ง หรือหมายถึง การคาดคะเนเชิงปริมาณของโอกาสการขายสูงสุด ที่น่าจะเป็นไปได้ในตลาดใดตลาดหนึ่ง ตัวอย่างเช่น บริษัท A จำกัด เป็นบริษัทผู้ลิตเบียร์ คาดว่าบริษัทของตนเองจะขายได้ 2 หมื่นล้านบาท ซึ่งเป็น 50 % ของศักยภาพตลาด

เทคนิคการพยากรณ์การขาย 1. การสอบถามความคิดเห็นของผู้บริหาร เป็นวิธีการพยากรณ์ที่สะดวก รวดเร็ว และประหยัดมาก โดยการขอความร่วมมือในการพยากรณ์จากผู้บริหารระดับผู้จัดการฝ่ายต่าง ๆ ในธุรกิจ การพยากรณ์โดยวิธีนี้ ผู้บริหารจะใช้ข้อมูลที่แต่ละคนมีอยู่และหาได้ประกอบกับประสบการณ์ของแต่ละคนคาดคะเนปริมาณขาย จากนั้นผู้รับผิดชอบในการพยากรณ์ จะนำผลการคาดคะเนมาหาค่าเฉลี่ย และอาจมีการเชิญประชุมเพื่อพิจารณาหาข้อสรุปร่วมกันอีกครั้งหนึ่งก็ได้

เทคนิคการพยากรณ์การขาย (ต่อ) 2. การสอบถามพนักงานขาย เนื่องจากพนักงานขายได้สัมผัสกับลูกค้า และเขตการขายที่แท้จริงตลอดเวลา สามารถศึกษา และสังเกตพฤติกรรมของลูกค้า ตลอดจนปัจจัยที่มีผลกระทบในการซื้อสินค้าของลูกค้าในเขตการขายที่ตนรับผิดชอบได้จึงน่าจะให้พนักงานขายมีส่วนร่วมในการพยากรณ์การขายด้วย

ประโยชน์ของการพยากรณ์ทางการขาย 1.การแบ่งโควตาขาย 2. การจัดทำงบประมาณการขาย 3. การกำหนดกลยุทธ์การขาย 4.กำหนดค่าตอบแทนให้แก่พนักงานขาย

ประโยชน์ของการพยากรณ์ทางการขาย (ต่อ) 5. กำหนดกลยุทธ์ด้านราคาให้เหมาะสม 6. วางแผนการโฆษณาและจัดสรรงบประมาณ ได้ถูกต้อง 7. วางแผนส่วนประสมของผลิตภัณฑ์

แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการพยากรณ์การขาย แหล่งข้อมูลภายใน แหล่งข้อมูลภายนอก

ความเสี่ยงภัยในการพยากรณ์ยอดขาย 1. ความเสี่ยงภัยที่เกิดจากอัตราการเจริญเติบโตของบริษัท เป็นเรื่องที่ค่อนข้างยากที่จะคาดคะเนอัตราการขาย จะเพิ่มขึ้นหรือลดลงจากปีที่ผ่านมาเพราะมีปัจจัยบางอย่างที่แทรกซ้อนเข้ามาอยางคาดไม่ถึง เช่นสภาวะสงคราม การตกต่ำของเศรษฐกิจของโลก เป็นต้น

ความเสี่ยงภัยในการพยากรณ์ยอดขาย (ต่อ) 2. ความเสี่ยงภัยจากการใช้ตัวเลขข้อมูลในอดีต ในการพยากรณ์ยอดขาย ส่วนใหญ่เอาตัวเลขข้อมูลการขายในอดีต มาประกอบการจัดทำทั้งสิ้น เว้นเสียแต่ข้อมูลบางอย่างที่ไม่สามารถคาดการณ์ได้ เช่น การนำสินค้าใหม่เข้าสู่ตลาด อาจเป็นเหตุให้การพยากรณ์ผิดพลาดได้ เพราะสถานการณ์และเงื่อนไขต่าง ๆ ในอดีตและปัจจุบันต่างกัน

ความเสี่ยงภัยในการพยากรณ์ยอดขาย (ต่อ) 3. ความเสี่ยงภัยจากสมัยนิยม แฟชั่นหรือสมัยนิยม เป็นเรื่องที่คาดคะเนได้ยากว่า แบบใดจะได้รับความนิยม ความเสี่ยงภัยในด้านนี้จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับชนิดของสินค้าว่า มีการเปลี่ยนแปลงสมัยนิยมรวดเร็วแค่ไหน และมีผลกระทบกระเทือนต่อการขายอย่างไร

ความเสี่ยงภัยในการพยากรณ์ยอดขาย (ต่อ) 4. ความเสี่ยงภัยที่เกิดจากปัจจัยทางจิตวิทยา การรับรู้ การเรียนรู้ ทัศนคติ บุคคลิกภาพของลูกค้าเป็นสิ่งที่วัดได้ยากเพราะไม่อาจวัดออกมาเป็นตัวเลขที่แน่นอนได้ จึงเป็นอุปสรรคอย่างหนึ่งในการพยากรณ์ยอดขาย