การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน) การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
ชื่อผู้วิจัย นายศิลาวุฒิ พงษ์วานิช วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก ชื่อผู้วิจัย นายศิลาวุฒิ พงษ์วานิช วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักศึกษา ชั้นปวช.ปีที่ 1 สาขางานไฟฟ้ากำลัง
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา นักศึกษาส่วนใหญ่มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนต่ำ นักศึกษาไม่สนใจเรียน เห็นว่ายาก และ วิเคราะห์ไม่เป็น ดำเนินการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ให้สูงขึ้น โดยใช้แบบฝึกทักษะที่หลากหลาย
วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 โดยใช้แบบฝึกทักษะ ที่หลากหลายที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
กรอบแนวคิดในการวิจัย แบบฝึกทักษะที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร ได้แก่ นักศึกษาระดับปวช. ชั้นปีที่ 1 ที่ลงทะเบียนเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ประยุกต์2 รหัสวิชา 2000-1520 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 6 ห้องเรียน รวม ผู้เรียน 200 คน
กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาระดับปวช กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาระดับปวช. ชั้นปีที่ 1 ที่ลงทะเบียนเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ประยุกต์2 รหัสวิชา 2000-1520 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 จำนวนนักศึกษา 52 คน ซึ่ง ได้มาโดยการสุ่มแบบง่าย (Simple Random Sampling) ด้วยวิธีการจับฉลาก โดยใช้ ห้องเรียนเป็นหน่วยการสุ่ม
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผลการวิจัย พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของวิชา คณิตศาสตร์ นักศึกษาชั้นปวช.ปีที่ 1 สาขางาน ไฟฟ้ากำลัง เฉลี่ย 44.31 จากคะแนน 10 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 43.31
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผลการวิจัย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 1.06 ผลสัมฤทธิ์หลังเรียนเฉลี่ย 69.41 จาก คะแนน 10 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 69.41 ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 1.09
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผลการวิจัย จากการทดสอบทั้งสองครั้งผลปรากฏว่า นักศึกษาชั้นปวช.ปีที่ 1 สาขางานไฟฟ้ากำลัง มี ความก้าวหน้าเพิ่มขึ้น เฉลี่ย 25.09 คิดเป็นร้อย ละ 5.00 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนที่สูงขึ้นหลังจากได้แบบฝึกทักษะ เป็นไปตามสมมติฐานที่วางไว้
ข้อเสนอแนะ 1. ครูผู้สอน นักศึกษาชั้นปวช.ปีที่ 1 ทุกแผนก ช่าง สามารถนำแบบฝึกทักษะเรื่องรากที่ n ของ จำนวนจริง และเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็น จำนวนตรรกยะ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นไปทดสอบใช้ และพัฒนาต่อไป
ข้อเสนอแนะ (ต่อ) 2. ควรมีการศึกษาเจตคติต่อการเรียนรู้ของ นักศึกษาที่ได้รับการสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะ 3. ควรมีการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อย่างต่อเนื่อง และในระดับชั้นอื่น ๆ
ขอบคุณครับ